เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย สรุปผลการดำเนินงานและปัญหาอุปสรรค ในการจัดซื้อร่วมระดับจังหวัด จังหวัดหนองคาย โดย. ภญ. ปิยะมาศ ปรีชาฎก เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
ความเป็นมา การจัดหาเวชภัณฑ์ของหน่วยงานต่างๆ ประสบปัญหา คุณภาพของเวชภัณฑ์ ความเหมาะสมของราคาเวชภัณฑ์ที่จัดหาได้ เพื่อเป็นการสนองนโยบายด้านการประหยัดของรัฐบาล กระทรวงสาธารณสุขได้มีการจัดทำแผนแม่บทพัฒนาสุขภาพที่ดีด้วยต้นทุนต่ำ (Good Health at Low Cost) จึงได้มีการจัดหาเวชภัณฑ์ร่วมกัน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว ( อนุสนธิสัญญาหนังสือสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ สธ 0211/09/ว 028 ลงวันที่ 14 ม.ค. 2542 ) การจัดซื้อแบบรวมกลุ่ม (Group Purchasing) : ซื้อเป็นจำนวนมาก ช่วยให้ได้เวชภัณฑ์ในราคาที่ลดลง และมีคุณภาพ
วิธีการดำเนินงาน แต่งตั้งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบ คัดเลือกรายการเวชภัณฑ์ที่จะจัดหาร่วมกัน (รายการ และปริมาณ) ดำเนินการจัดหาร่วมกัน กำหนดเกณฑ์ในการคัดเลือกคุณภาพเวชภัณฑ์ ทำสัญญาหรือข้อผูกพัน ( สอบและประกวดราคา ) จัดซื้อ/จัดส่งเวชภัณฑ์ ควบคุม กำกับ ติดตามประเมินผล รายงานผลการดำเนินงาน (รายงาน E – Inspection)
ตัวชี้วัด ร้อยละของมูลค่าการจัดซื้อร่วมระดับจังหวัด ยา เกณฑ์ ร้อยละ 20 ยา เกณฑ์ ร้อยละ 20 เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา เกณฑ์ ร้อยละ 10 ร้อยละของมูลค่าการจัดซื้อยาจากองค์การเภสัชกรรม โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป เกณฑ์ ร้อยละ 10 โรงพยาบาลชุมชน เกณฑ์ ร้อยละ 40
การดำเนินงานของ จ.หนองคาย 1. แต่งตั้งคณะกรรมการทั้งหมด 5 ชุดได้แก่ คณะกรรมการบริหารเวชภัณฑ์ระดับจังหวัด คณะทำงานจัดทำแผนจัดซื้อเวชภัณฑ์และต่อรองราคาร่วมกันระดับจังหวัด คณะทำงานคัดเลือกคุณภาพของเวชภัณฑ์ที่จัดซื้อร่วมกันระดับจังหวัด คณะทำงานคัดเลือกคุณภาพยา คณะทำงานคัดเลือกคุณภาพเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา คณะทำงานติดตามและพัฒนาระบบบริหารเวชภัณฑ์ คณะทำงานคัดเลือกเวชภัณฑ์เพื่อสุ่มไปตรวจวิเคราะห์
การดำเนินงานของ จ.หนองคาย 2. คัดเลือกรายการเวชภัณฑ์ที่จะจัดหาร่วมกัน รวบรวมเวชภัณฑ์ 100 รายการ จาก รพท./รพช. สรุปรายการเวชภัณฑ์ในภาพรวมระดับจังหวัด คณะกรรมการคัดเลือกรายการที่จะจัดซื้อร่วม 3. กำหนดรูปแบบการจัดซื้อจัดหาด้วยวิธีต่างๆ ตามระเบียบพัสดุ ประกวดราคา งบประมาณ 2 ล้านบาทขึ้นไป สอบราคา งบประมาณ 4 แสนบาท – 2 ล้านบาท ต่อรองราคา งบประมาณ ไม่เกิน 4 แสนบาท
ประชุม คกก.คัดเลือกคุณภาพ สรุปผลการคัดเลือกผู้ขาย/แจ้ง รพ.ต่าง ๆ วิธีตกลงราคา ทำใบเสนอราคา/แจ้งผู้ขาย 1 เดือน ประชุม คกก.คัดเลือกคุณภาพ 1 สัปดาห์ ประชุม คกก.ต่อรองราคา 1 สัปดาห์ สรุปผลการคัดเลือกผู้ขาย/แจ้ง รพ.ต่าง ๆ 1 สัปดาห์ ดำเนินการจัดซื้อ
วิธีสอบราคา ประชุม คกก.กำหนดสเปค เสนอ สเปค นพ.สสจ. อนุมัติ ส่งประกาศให้ผู้ขาย คกก.เปิดซอง/พิจารณาซองที่สสจ. สรุปผลการเปิดซองเสนอ นพ.สสจ. อนุมัติ แจ้งผลให้รพ.ต่างๆดำเนินการจัดซื้อ
วิธีประกวดราคา ประชุม คกก.กำหนดสเปค เสนอ สเปค ผู้ว่าฯ อนุมัติ 2 สัปดาห์ เสนอ สเปค ผู้ว่าฯ อนุมัติ 2 สัปดาห์ ติดประกาศแจ้งผู้ขาย 4 สัปดาห์ คกก.เปิดซอง/พิจารณาซองที่ศาลากลางจังหวัด 2 สัปดาห์ สรุปผลการเปิดซองเสนอผู้ว่าฯ อนุมัติ 2 สัปดาห์ แจ้งผลให้รพ.ต่างๆดำเนินการจัดซื้อ
ผลการดำเนินงานปี 2550 ยา 64 รายการ สอบราคา 10 รายการ ยา 64 รายการ สอบราคา 10 รายการ ต่อรองราคา 54 รายการ เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา 33 รายการ สอบราคา 5 รายการ ต่อรองราคา 28 รายการ
ผลการดำเนินงานปี 2550 รายงาน ณ เดือน พ.ค. 2550 ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลงาน ร้อยละของมูลค่าการซื้อยาร่วม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของมูลค่าการจัดซื้อยาทั้งหมด 16.05 ร้อยละของมูลค่าการซื้อเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาร่วม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของมูลค่าการจัดซื้อยาทั้งหมด 18.05 ร้อยละของมูลค่าการซื้อยาจากองค์การเภสัชกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 (รพท.), 40 (รพช.) ของมูลค่าการจัดซื้อยาทั้งหมด รพ.หนองคาย 5.90 รพ. ชุมชน 13.20
ปัญหาและอุปสรรค ปัญหา ผลการดำเนินงานไม่ผ่านตามเกณฑ์ตัวชี้วัดผู้ตรวจราชการ(ยา) คุณภาพและการบริการของบริษัทที่ผ่านการคัดเลือกไม่ตรงตามความต้องการของผู้ซื้อ ผู้ซื้อไม่ซื้อจากบริษัทที่ผ่านการคัดเลือก อุปสรรค การดำเนินงานที่ล้าช้า ไม่มีการติดตาม ประเมินผลการจัดซื้อในเชิงรุก(มีแต่ประเมินผลจากรายการ) ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องไม่เข้าใจถึงกระบวนการการดำเนินงานของการซื้อร่วม
การดำเนินงานสำหรับปี 2551 พิจารณารายการเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาที่จะทำการจัดซื้อร่วมระดับจังหวัด ปี 2551 วางแนวทางในการดำเนินงานเพื่อให้ได้ผลงานที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น หาแนวทางในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค