คู่มือการพัฒนาคุณภาพ HA SPA SAR 2011 HA Scoring Guideline 2011

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประภัสสร คำยวง นักวิชาการสาธารณสุข
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
SPA ไม่สบายอย่างที่คิด
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
การดำเนินการ ขั้น 1 : ◊ แต่งตั้งคณะทำงาน ◊ จัดทำแผนดำเนินการ (Roadmap) ◊ จัดประชุมชี้แจง คณะทำงานดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ควรประกอบด้วย.
Thailand Quality Award (TQA)
Learning Organization PSU.
How to write impressive SAR
Impressive SAR.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
หลักการพัฒนา หลักสูตร
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
HA คืออะไร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
Service Profile บริการ/ทีม: โรงพยาบาล วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเตรียมพร้อมรองรับ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
หมวด2 9 คำถาม.
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
Benchmarking.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ
สภาพผลการดำเนินงานองค์กร
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
Service Profile บริการ/ทีม: โรงพยาบาล วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
Good Practice (for Quality Improvement)
Good Practice (for Quality Improvement)
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
เตรียมความพร้อมรับ Hospital Accreditation และ Re-accreditation
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
ประสบการณ์รพศ.อุดรธานี ในการเตรียมรับการประเมิน
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
1. การ ดำเนินงานตามกฎระเบียบ การประกันสังคม 2. ความสามารถ ในการดำเนินการ เรียกเก็บเงินได้ตามกำหนด 3. ความรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนใน การให้บริการ 4. การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย.
คุณค่าคนทำงาน คือการทำงานให้มี คุณภาพ ตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการทั้งภายนอกและ ภายในตามมาตรฐานวิชาชีพ เป้าหมายของการทำงาน คือ การ ให้บริการที่มี
หลักการเขียนโครงการ.
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
1 Quality Improvement Tract สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน )
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ALIVE NURSING RECORD ดร. วันทนา ถิ่นกาญจน์ สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คู่มือการพัฒนาคุณภาพ HA SPA SAR 2011 HA Scoring Guideline 2011 นพ.สุรชัย ปัญญาพฤทธิ์พงศ์ 26/01/2012

มาตรฐาน HA มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ประยุกต์จาก TQA (THAILAND QUALITY AWARD)

ตอนที่ I ภาพรวมของการบริหารองค์กร

เป้าหมายของการใช้มาตรฐาน เพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบระบบงานที่เหมาะสม และใช้ประเมินเพื่อหาโอกาสพัฒนา

SPA นำมาตรฐาน HA (Standard) มาถ่ายทอดโดย ยกตัวอย่างรูปธรรมการปฏิบัติ(Practice) และให้ โรงพยาบาลประเมินผลการปฏิบัติ(Assessment)

Assessment ผลการประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐาน และการเรียนรู้หรือบทเรียน(Learning) ที่เกิดขึ้น ขององค์กร ทีม และหน่วยงานต่างๆ

Learning 7 Evaluation Improvement Innovation Integration Outcome

SAR 2011 ขยาย Assessment เป็นหัวข้อและตั้งคำถามให้ตอบเป็นรูปธรรมได้ง่ายขึ้น เพื่อให้ตอบมาตรฐาน HA (SPA) ได้กระชับและตรงประเด็น

SPA I 9 มาตรฐานการบริการ ใช้มาตรฐาน TQA

SPA II, III ระบุรายละเอียด การจัดกระบวนการของ โรงพยาบาล 10 ระบุรายละเอียด การจัดกระบวนการของ โรงพยาบาล ใช้มาตรฐานวิชาชีพ มาตรฐานทางกฎหมาย แนวทางปฏิบัติ Best Practice

การตอบแบบประเมินตนเอง SPA I, SPA II, SPA III ใช้แนวทาง ADLI 11 การตอบแบบประเมินตนเอง SPA I, SPA II, SPA III ใช้แนวทาง ADLI

ADLI A = Approach = ออกแบบระบบการทำงาน (พัฒนา) D = Deploy = การนำระบบไปปฏิบัติ (ทั่วถึง ทุกที่ ทุกเวลา) L = Learning = การเรียนรู้จากการปฏิบัติตามระบบ I = Integrate = บูรณาการการเรียนรู้

การตอบแบบประเมินตนเอง SPA I, SPA II, SPA III ตอบ Learning 13 การตอบแบบประเมินตนเอง SPA I, SPA II, SPA III ตอบ Learning

การตอบแบบประเมินตนเอง SPA Іv ตอบ LeTCI 14 การตอบแบบประเมินตนเอง SPA Іv ตอบ LeTCI

LeTCI Le = Level = ผลลัพธ์ (ผลงานที่ผ่านมา) T = Trend = แนวโน้ม(ผลงานที่คาดการณ์ในอนาคต) C = Comparison = เปรียบเทียบผลลัพธ์กับองค์กรอื่น I = Integration = ผลลัพธ์บรรลุเป้าประสงค์ขององค์กร

16 การตอบแบบประเมินตนเอง SPA Іv ตอบ - Level - วิเคราะห์ผลลัพธ์ที่ผ่านมา - Trend

SPA (กระดาษคำถาม) SAR 2011 (กระดาษคำตอบ) HA Scoring 2011 (เกณฑ์ให้คะแนน) 17 17

ระดับของเอกสารการประเมินตนเอง Clinical Tracer / Highlight Hospital Profile 2008 & ผลลัพธ์ (IV) มาตรฐานโรงพยาบาลตอนที่ I-III ระดับโรงพยาบาล Option: Detailed Scorebook มาตรฐานส่วนที่เกี่ยวข้อง ทีมนำในระบบงานสำคัญ ทีมนำทางคลินิก CLT Profile Clinical Tracer / Highlight เอกสารการประเมินตนเองเพื่อสื่อสารกับผู้เยี่ยมสำรวจและนำเสนอต่อคณะกรรมการรับรองคุณภาพ มี 3 ระดับ 1. ระดับโรงพยาบาล 1.1 Hospital profile 2008 (context, direction, result) ซึ่งมีผลลัพธ์ตามมาตรฐานตอนที่ IV เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ขององค์กร รวมอยู่ด้วย 1.2 การประเมินตนเองตามมาตรฐานโรงพยาบาลตอนที I-III ซึ่งระบุ - Approach หรือ practice ที่สะท้อนคุณภาพ, การปรับปรุง, ผลลัพธ์ - โอกาสพัฒนาและแผนพัฒนา (ถ้ามี) ในประเด็นสำคัญของมาตรฐานแต่ละข้อ รวมทั้ง key area หรือ proxy disease ที่เกี่ยวข้อง 2. ระดับทีมนำทางคลินิก (Clinical Lead Team หรือ Patient Care Team) 2.1 CLT profile (ใช้แนวทางเดียวกับ service profile จะเป็นรูปแบบใดก็ได้ ความยาวกระชับที่สุด) 2.2 Clinical tracer อย่างย่อ หรือ clinical highlight สรุป highlight ของการดูแลโรคสำคัญในแต่ละหน่วยหรือแต่ละสาขา ความยาวประมาณไม่เกินครึ่งหน้า 3. ระดับหน่วยงาน 3.1 Service profile ในรูปแบบใดก็ได้ ความยาวกระชับที่สุด (เฉพาะหน่วยงานที่ไม่ถูกครอบคลุมด้วย CLT profile สำหรับหอผู้ป่วยที่ถูกครอบคลุมด้วย CLT profile ควรทำ service profile ไว้เพื่อเป็นเครื่องมือกำกับการพัฒนาคุณภาพของหน่วยงาน) Service Profile หอผู้ป่วย หน่วยงานอื่นๆ Service Profile

การจัดทำแบบประเมิน เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร หรือได้ดำเนินการพัฒนาอะไร ระบบงานที่ได้พัฒนาขึ้นหรือที่ปฏิบัติเป็นมาตรฐานนั้นมีลักษณะสำคัญอย่างไร ผลการดูแลผู้ป่วยที่เกี่ยวกับเรื่องที่นำเสนอเป็นอย่างไร

การจัดทำแบบประเมิน การนำเสนออาจจะนำเสนอเปรียบเทียบให้เห็นแนวโน้มและความแตกต่าง หรือนำเสนอสถานการณ์ในปัจจุบัน หรือนำเสนอในลักษณะการประเมินเชิงคุณภาพก็ได้ และควรพยายามเขียนรายงานแต่ละประเด็นให้สั้น กระชับ โดยเริ่มต้นจำกัดไว้ที่ 3 บรรทัดก่อน ถ้าเห็นว่ายังมีข้อมูลสำคัญที่ควรนำเสนอก็สามารถเพิ่มเติมได้

ประเมินตนเอง 3 ประเด็น 3 บรรทัด ทำอะไร รพ.ได้ปรับปรุงการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายใน รพ. ด้วยการเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีอาการทางจิต เช่น ประสาทหลอน เพิ่มจากที่เคยมุ่งเน้นเฉพาะผู้ป่วยที่มีอาการซึมเศร้า ทำให้จำนวนผู้ป่วยที่ลงมือฆ่าตัวตายลดลงจากปีละ 10 รายเหลือ 0-1 ราย ทำอย่างไร การจัดทำรายงานการประเมินตนเองในเรื่องเกี่ยวกับกระบวนการดูแลผู้ป่วยนั้น สามารถตอบได้ทั้งในลักษณะของระบบงานที่ได้ปฏิบัติกันเป็นปกติประจำ และลักษณะของการพัฒนาซึ่งเพิ่งเสร็จสิ้นไป โดยควรจะระบุประเด็นสำคัญว่า เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร หรือได้ดำเนินการพัฒนาอะไร ระบบงานที่ได้พัฒนาขึ้นหรือที่ปฏิบัติเป็นมาตรฐานนั้นมีลักษณะสำคัญอย่างไร ผลการดูแลผู้ป่วยที่เกี่ยวกับเรื่องที่นำเสนอเป็นอย่างไร อาจจะนำเสนอเปรียบเทียบให้เห็นแนวโน้มและความแตกต่าง หรือนำเสนอสถานการณ์ในปัจจุบัน หรือนำเสนอในลักษณะการประเมินเชิงคุณภาพก็ได้ ควรพยายามเขียนรายงานแต่ละประเด็นให้สั้น กระชับ โดยเริ่มต้นจำกัดไว้ที่ 3 บรรทัดก่อน ถ้าเห็นว่ายังมีข้อมูลสำคัญที่ควรนำเสนอก็สามารถเพิ่มเติมได้ ผลเป็นอย่างไร

การเขียนแบบประเมินตนเองควรสะท้อนให้เห็นบทเรียน ความคาดหวังต่อการเขียนแบบประเมิน การเขียนแบบประเมินตนเองควรสะท้อนให้เห็นบทเรียน (lesson learned ) คือ ถ้า…..จะเกิดอะไรขึ้น ซึ่งบทเรียนจะอธิบายเหตุการณ์และเงื่อนไขที่เกิดขึ้น และคำอธิบายจะต้องมีคุณค่าในการนำไปปฏิบัติ คำอธิบาย ที่ชัดเจนจะต้องมีตัวชี้วัดที่ดี ที่สะท้อนว่าเกิดอะไรขึ้น และเกิดการเรียนรู้อะไร บทเรียนจะต้องระบุว่า อะไรใหม่ (what ) หรือ อะไรคือข้อมูลใหม่ (อาจจะ +,ลบ)

แนวทางการเตรียมการให้ได้ข้อมูลในการเขียนแบบประเมินตนเอง การเปลี่ยนแปลงอะไรเกิดขึ้น หากไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงไม่ควรแสวงหาคำตอบว่าได้บทเรียนอะไร หากมีผลสืบเนื่องที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงคล้ายๆกัน ต้องพยายามตอบให้ได้ว่า อะไรสำคัญที่สุด และ ทำไมจึงสำคัญ

แนวทางการเตรียมการให้ได้ข้อมูลในการเขียนแบบประเมินตนเอง บทเรียนมิใช่ ความแตกต่างที่เกิดขึ้นระหว่างสิ่งที่คาดหมายกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง เพราะสิ่งนั้นคือ สมมุติฐาน แต่หากมีสิ่งที่ไม่ได้ตามคาดหมายที่เกิดขึ้นแสดงว่า มีอะไรทำให้เกิดความแตกต่าง และ อะไร ที่ไปทำให้เกิดความแตกต่างนั้นก่อให้เกิดผลต่อพฤติกรรมอย่างไร สิ่งนั้นคือ บทเรียน

เราวางแผนกันอย่างไร อะไรคือจุดหมายของการปฏิบัติการ คำถามที่ใช้ในการวิเคราะห์หลังการพัฒนา/การทำงาน เพื่อให้ได้ผลลัพธ์/ข้อมูลมาใช้ในการเขียนสรุปแบบประเมินตนเอง เราวางแผนกันอย่างไร อะไรคือจุดหมายของการปฏิบัติการ เมื่อเราดำเนินการกิจกรรมไปได้ระยะหนึ่งแล้ว สิ่งใดเกิดขึ้น สิ่งใดเกิดขึ้น สิ่งใดไม่เป็นไปตามแผนที่วางแผนไว้ / ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น สิ่งใดเป็นไปตามที่วางแผนไว้/ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น