Wean-to-Finish (WTF) System

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
Advertisements

ห้องปฏิบัติการต่างๆ.
นโยบายและแนวทาง การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ของกรุงเทพมหานคร
สาระเทคการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ ๑
สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
NAVY PILLOW 2012 (หมอนน้ำ ).
NAVY WATER BED 2012.
นาวาโทสมบูรณ์ เจิมสุจริต E.T. Nurse
Avian Salmonellosis ระบาดวิทยา
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
บทที่ 2.
องค์ประกอบพื้นฐานของฟาร์มเลี้ยงสัตว์
การจัดการความรู้เพื่อพัฒนางาน
มาตรฐานสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
ผลการจำกัดอาหารในลูกสุกรหย่านมก่อนกำหนด
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
คุณภาพชีวิต.
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
What is the optimum stocking rate ?
นำเสนอเรื่อง ก๊าซชีวภาพจากมูลสุกร
นางสาวสุธาสินี ภัยชนะ
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
การศึกษาหญ้าแฝกเพื่อใช้เป็นพืชอาหารสัตว์
การล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
การพิจารณาเลือกระบบบำบัดน้ำเสีย
การทำธุรกิจแบบยั่งยืน การตลาดแบบแม่ไก่อารมณ์ดี
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
1 ผักปลอดสารพิษ ผลผลิตพืชผักที่ไม่มีสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชตกค้างอยู่ หรือมีตกค้างอยู่ไม่เกินระดับมาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้
ไฮโดรโปนิกส์ (Hydroponics)
ปี2554 หญิงตั้งครรภ์ขาดสารไอโอดีน % มัธยฐาน ไมโครกรัมต่อลิตร สสจ. อุดรธานี ; 2554,2555 ผลการตรวจปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ เพื่อหาภาวการณ์ขาดสารไอโอดีน.
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
ความหลากหลายทางชีวภาพ
************************************************
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
ตารางวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้จัดทำคำอธิบายรายวิชา
บริษัท AEK บรีดเดอร์ฟาร์ม สาขา ฟาร์มหนองเขิน
จัดทำโดย นายธีระศักดิ์ เจริญศรี
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
Nipah virus.
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
Data Collecting for Genetic Improvement in Pig and Chicken
การเจริญเติบโตของพืช
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
การฝึกงานสัตวศาสตร์ 3.
ปลาหางนกยูง.
การเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐานในถุงพลาสติก โดยใช้วัสดุขี้เลื่อยไม้ยางพารา
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
สรุปรายงานการเคลื่อนย้ายสัตว์ – ซากสัตว์ ของด่านกักกันสัตว์พิจิตร ประจำเดือน มกราคม 2554.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
กระบวนการจัดการมูลฝอย การฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Wean-to-Finish (WTF) System LA unit Thailand

Wean-to-Finish คืออะไร? WTF คือ ระบบการเลี้ยงแบบ 2 สถานที่/ฟาร์ม/ไซท์ โดยต้องมี 1.ระยะระหว่าง 2 สถานที่/ฟาร์ม/ไซท์ ห่างกันอย่างน้อย 3 กม. 2.แยกหมูหย่านมออกจากฝูงพ่อแม่พันธุ์ LA unit Thailand H.ANGSANA

การแบ่งสถานที่/ฟาร์ม/ไซท์ในระบบ WTF 3-5 กิโลเมตร เล้าผสม -อุ้มท้อง คลอด สถานที่/ฟาร์ม/ไซท์ที่ 2 เป็นฟาร์มที่ใช้เล้านรุ่นเลี้ยงตั้งแต่หมูหย่านมไปจนถึงจับขาย โดยไม่ต้องมีการย้ายหมูจากเล้าอนุบาลมาที่เล้ารุ่น สถานที่/ฟาร์ม/ไซท์ที่ 1 เป็นฟาร์มหมูพ่อแม่พันธุ์และลูกหมูในเล้าคลอดเท่านั้น หย่านมถึงรุ่น ในเล้าเดิม LA unit Thailand H.ANGSANA

WTF ให้ประโยชน์อะไร? ช่วยให้ไม่ต้องสร้างเล้าอนุบาล ช่วยลดการเคลื่อนย้ายหมู/การใช้รถ > ลดค่าขนส่ง, ลดความเครียด ช่วยลดแรงงาน ช่วยลดอัตราการตาย ช่วยลดการใช้ยา ช่วยให้ประสิทธิภาพการผลิตที่ดีกว่า LA unit Thailand H.ANGSANA

WTF ช่วยให้ไม่ต้องสร้างเล้าอนุบาล และช่วยลดการเคลื่อนย้ายหมู/การใช้รถ ระบบการเลี้ยงจากอนุบาลถึงรุ่น คลอด อนุบาล รุ่น ระบบการเลี้ยงจากหย่านมถึงรุ่น (WTF) คลอด หย่านม-รุ่น LA unit Thailand

WTF ช่วยลดแรงงาน ไม่ต้องย้ายหมูอนุบาลไปเล้าขุน ไม่ต้องใช้เวลาในการล้างทำความสะอาดเล้าอนุบาล ไม่ต้องใช้แรงงานในการดูแลหมูในเล้าอนุบาล LA unit Thailand

WTF ช่วยให้ประสิทธิภาพการผลิตที่ดีกว่า เปรียบเทียบการเจริญเติบโตระหว่าง การเลี้ยงแบบอนุบาลถึงรุ่นกับหย่านมถึงรุ่น ดัชนีชี้วัด การเลี้ยงแบบอนุบาลถึงรุ่น การเลี้ยงแบบหย่านมถึงรุ่น นน.เข้า (ก.ก.) 4.5 27 นน.ออก (ก.ก.) 123 จน.วันเลี้ยง 58 120 166 อัตราการเจริญเติบโต (กรัม/วัน) 390 790 714 อัตราการแลกเนื้อ 1.65 2.95 2.70 LA unit Thailand

WTF มีข้อเสียอะไร? เพิ่มต้นทุนของโรงเรือน/อุปกรณ์ ~10-20% เพิ่มความเอาใจใส่และการดูแล รอบการใช้โรงเรือน/ปีลดลงเหลือ ~2.0-2.1 LA unit Thailand H.ANGSANA

WTF ทำให้รอบการใช้โรงเรือน/ปีลดลง การเลี้ยงแบบอนุบาลถึงรุ่น จำนวนโรงเรือนอนุบาล 8 หลัง เลี้ยงจากอายุ 3-10 สัปดาห์ จำนวนโรงเรือนรุ่น 18 หลัง เลี้ยงจากอายุ 10-26 สัปดาห์ รอบการใช้โรงเรือนรุ่น 52/18 = 2.8 การเลี้ยงแบบหย่านมถึงรุ่น จำนวนโรงเรือนรุ่น 26 หลัง เลี้ยงจากอายุ 3-26 สัปดาห์ รอบการใช้โรงเรือนรุ่น 52/26 = 2.0 LA unit Thailand

ปัจจัยที่มีส่วนร่วมกับ WTF เพื่อให้ได้ประสิทธิผลสูงสุด รายละเอียด 1.แหล่งที่นำลูกหมูเข้าเลี้ยง ลูกหมูต้องมาจากพ่อแม่พันธุ์ที่มีสุขภาพดี ไม่มีอุบัติการณ์การเกิดโรคระบาด และ มีโปรแกรมการฉีดวัคซีนที่เหมาะสม 2.อายุหมูหย่านม ต้องกำหนดอายุหย่านมสูงสุด แต่ละกลุ่มของหมูหย่านมต้องไม่ห่างกันมากว่า 7 วัน 3.คุณภาพหมูหย่านม - ลูกหมูหย่านมต้องแข็งแรงสมบูรณ์ และมีน้ำหนักสัมพันธุ์กับอายุ 4.อาหาร อาหารที่ให้ต้องมีคุณภาพเหมาะสมกับอายุสุกร, อาหารต้องใหม่ และมีปริมาณ อาหารให้หมูกินอย่างเพียงพอ 5.ลักษณะโรงเรือน โรงเรือนเปิด โรงเรือนปิด (อุโมงค์ลม, อีแว๊ป) LA unit Thailand

Mycoplasma-ELISA (Dako) Test แหล่งที่นำหมูเข้าเลี้ยงมีส่วนร่วมกับประสิทธิภาพสูงสุดของ WTF Mycoplasma-ELISA (Dako) Test % Positive LA unit Thailand

ปัจจัยที่มีส่วนร่วมกับ WTF เพื่อให้ได้ประสิทธิผลสูงสุด รายละเอียด 6.อุปกรณ์ - กล่องกก, ไฟกก/แก๊ส, วัสดุปูรอง, ผ้าม่าน/ผ้าใบ, อุปกรณ์ให้น้ำ/อาหาร 7.คุณภาพและปริมาณน้ำ - คุณภาพของน้ำ, ปริมาณน้ำที่หมูได้รับ 8.สภาพแวดล้อม อุณหภูมิ ความชื้น และการระบายอากาศ 9.การไหลของหมู การเข้าออกเป็นชุด หรือเป็นกลุ่ม (all in-all out) 10.วัคซีนและยา มีโปรแกรมการฉีดวัคซีนและใช้ยาที่เหมาะสม 11.การป้องกันและควบคุมโรค สุขอนามัย - สุขาภิบาล (การทำความสะอาด การฆ่าเชื้อ และการพักเล้า) LA unit Thailand

all in-all out มีส่วนร่วมกับประสิทธิภาพสูงสุดของ WTF 4 หน่วย; 1,470 แม่ ก่อนทำ AI-AO 7-92 กก. หลังทำ AI-AO 7-87 kg. % ปรับปรุง อัตราการเจริญเติบโต(กรัม/วัน) 614 621 1 อัตราการแลกเนื้อ 2.32 2.26 3 ค่ายา/ตัว (฿) 92 79 22 อัตราการตาย 4.3 4.5 4.6 Source: International pigletter July 1997 Vol.17 No. 5 LA unit Thailand

โปรแกรมวัคซีนมีส่วนร่วมกับประสิทธิภาพสูงสุดของ WTF เปรียบเทียบประสิทธิภาพก่อนและหลังใช้วัคซีนมัยโคพลาสมา 8 หน่วย; 3,140 แม่ ก่อนฉีดวัคซีน หลังฉีดวัคซีน % ปรับปรุง อัตราการเจริญเติบโต(กรัม/วัน) 493 537 9 อัตราการแลกเนื้อ 2.56 2.31 7 ค่ายา/ตัว (฿) 3.7 3.4 19 อัตราการตาย 8.7 4.3 39 Source: International pigletter July 1997 Vol.17 No. 5 LA unit Thailand

Thank you for your attention LA unit Thailand