Ecology.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
ประชากร umaporn.
การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
ENVIRONMENTAL SCIENCE
กลไกการวิวัฒนาการ.
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษา
มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
Physiology of Crop Production
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ในทองถิ่นที่ดีต่อสุขภาพกาย
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
ประชากร (Population) Gajaseni, 2001.
แบบของการเพิ่มประชากร
นิเวศวิทยาและพฤติกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นันทนา คชเสนี
ผลจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ข้อบกพร่องที่พบในรายงาน โดย รศ.ดร.สุชาดา บวรกิติวงศ์
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
วิธีการดำเนินงานธุรกิจเครือข่าย
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
สิ่งแวดล้อมรอบตัว.
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
BIO-ECOLOGY 2.
การคิดเชิงระบบ และการคิดเชิงวิเคราะห์
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
วิธีการทางวิทยาการระบาด
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
บทที่ 6 ทฤษฎีโครงสร้าง – หน้าที่
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
งานวิจัยในชั้นเรียน พฤติกรรมการไม่ตรงต่อเวลาและการไม่รับผิดชอบเข้าชั้นเรียนวิชาอนุกรมวิธานแมลง I ของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชากีฏวิทยา ประจำภาคการศึกษา.
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
1.คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน คณิตศาสตร์กับธรรมชาติ
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
Question.
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ระบบนิเวศสิ่งแวดล้อม
๕. ด้านผลลัพธ์/ภาพความสำเร็จ
การแพร่กระจายของประชากร (Dispersion)
ชีวะ ม. ปลาย.
การรับฟังพยานหลักฐาน
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ทฤษฎี และหลักการพัฒนาชุมชน
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
Charles Darwin เป็นนัก ธรรมชาติวิทยาได้เดินทางไปสํารวจ และทําแผนที่ของฝั่งของทะเลทวีป อเมริกาใต้ Darwin ได้ประสบการณ์ จากการศึกษาพืชและสัตว์ที่มีอยู่
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
ครูจงกล กลางชล 1. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจเรื่องประชากร และสิ่งที่ประชากรสร้างขึ้น เพื่อประโยชน์ในการดำรงชีวิต 2.
เซลล์พืช และ เซลล์สัตว์
มนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา
Energy flow of organis m. ความสัมพันธ์ของ สิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ในระบบ นิเวศที่มีการกินต่อกันเป็นทอด ๆ และมักเริ่มต้นด้วย ผู้ผลิต.
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
21.5 การเปลี่ยนแปลงแทนที่
บทที่ 3 การจัดการตราผลิตภัณฑ์ คุณค่าของตรา และตำแหน่งผลิตภัณฑ์
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Ecology

Ecology นิเวศวิทยา (ecology) มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก คือ oikos หมายถึง บ้าน หรือ ที่อยู่อาศัยโดยทั่วไปมักหมายถึง การศึกษาความสัมพันธ์ของสิ่งที่มีชีวิตกับสภาพแวดล้อมทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต นอกจากนี้ยังมีอีกหลายคนได้ให้ความหมายของคำว่า ecology แตกต่างกัน นิเวศวิทยา หมายถึง การศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตโดยทั่วไปกล่าวถึงพืชและสัตว์เป็นองค์ประกอบอย่างหนึ่งของระบบนิเวศมีด้วยกันมากมายหลายชนิด แต่ละชนิดต่างทำหน้าที่เป็นตัวแทนของประชากร

Andrewartha (1961) กล่าวว่า เป็นการศึกษาวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการแพร่กระจายและความมากน้อยของสิ่งมีชีวิต Odum (1971) ได้ให้ความหมายไว้ถึงการศึกษาถึงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต หรือ กลุ่มของสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อม Price (1975) กล่าวว่า เป็นการศึกษาขบวนการวิวัฒนาการของสิ่งแวดล้อม และ Krebs (1978) กล่าวถึงการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและสภาพแวดล้อมที่จะแสดงหรือบ่งบอกถึงปริมาณและการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิต

ระดับชั้นของการศึกษานิเวศวิทยา อนุกรมวิธานพบได้ในยุคแรก ๆ ของการศึกษาทางนิเวศวิทยา ถิ่นที่อยู่อาศัย ระดับขั้นทางนิเวศวิทยา เอกนิเวศวิทยา (Autecology) สังคมนิเวศวิทยา (Synecology) --Population ecology --Community ecology --Biome ecology --Ecosystem ecology