3 ลักษณะของประเทศด้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การคลังและนโยบาย การคลัง
Advertisements

บทที่ 2 แนวคิดและความสำคัญของงานการขาย
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
กระแสโลกาภิวัตน์กับบทบาทด้านการคลัง (9-1-55)
แนวทางการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และเศรษฐศาสตร์
การมองทฤษฎีการพัฒนาอย่างวิเคราะห์
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
โครงสร้างภาษีประเทศไทย
ชื่อ นางสาว สุนิสา แก้วจารนัย
วิธีการดำเนินงานธุรกิจเครือข่าย
โครงสร้างสังคมไทย โครงสร้างสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ของกลุ่มคนที่มีบรรทัดฐานของสังคมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวให้คนมาอยู่รวมกันเป็นสังคม อย่างสันติสุข.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2-3 : วิกฤตการณ์การพัฒนา
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวอย่างสรุปข้อมูลผลงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่น
บรรยาย เรื่อง AEC Asean Economic Community
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ
ศักยภาพความพร้อมเพื่อการแข่งขัน
เศรษฐกิจและสังคมการผลิตพืช ผู้สอน: รศ. วัชรินทร์ ซุ้นสุวรรณ
การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”. การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
SMEs SMALL MEDIUM ENTERPRIS ES วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ผู้ประกอบการ ในกิจการ อุตสาหกรรม ธุรกิจการเกษตร พาณิชยกรรม ธุรกิจบริการ.
นโยบายและยุทธศาสตร์การค้า การลงทุนของประเทศไทย โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี โรงแรมโซฟิเทล เซ็นทรัล พลาซ่า 31 สิงหาคม 2549.
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
สรุปการประชุมระดมความคิด
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 2 หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
บทบาทของข้อมูลการตลาด
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 2 รายได้ประชาชาติ
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

3 ลักษณะของประเทศด้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนา ความหมาย “ประเทศที่มีระดับรายได้ที่แท้จริงเฉลี่ยต่อบุคคลต่ำเมื่อเปรียบเทียบ กับประเทศอื่นๆ”

World Bank’s Classification System ใช้ Gross National Income per capita เป็นเกณฑ์ในการจัดกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาทางเศรษฐกิจ ประเทศต่างๆ ถูกจัดเป็นกลุ่มโดยใช้ GNI ในปี 2000 ได้ดังนี้ Low Income Countries (LIC):  $ 755 Lower-Middle Income Countries (LMC): $ 756-2,995 Upper-Middle Income Countries (UMC): $ 2,995-9,265 High Income Countries:  $ 9,266 เกณฑ์ที่ใช้ในการจัดกลุ่มประเทศตามฐานะทางเศรษฐกิจนี้ เป็นการจัดโดยธนาคารโลกเท่านั้น องค์กรอื่นๆ มีตัวชี้วัดอื่นๆ ในการจัดกลุ่มประเทศต่างๆ เช่นกัน ซึ่งอาจทำให้ได้กลุ่มประเทศที่แตกต่างกัน อย่างเช่น กลุ่มประเทศ high income ของธนาคารโลก ซึ่งถือว่าเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วทางเศรษฐกิจ แต่ UN ถือว่าเป็นประเทศกำลังพัฒนา โดยมีตัววัดตัวอื่น เช่น ดูการพัฒนาด้านการศึกษาหรือตัววัดทางด้านสุขภาพ ซึ่งยังพบว่าคนส่วนใหญ่ของประเทศยังมีการศึกษาต่ำและไม่ได้รับการบริการทางด้านสุขภาพที่เพียงพอ ตัวอย่างประเทศที่มีรายได้สูงแต่ยังไม่มีการพัฒนาด้านสังคมที่ดีพอ คือ ประเทศที่ส่งออกน้ำมัน เช่น Kuwait, the United Arab Emirates UNDP ก็ใช้ HDI ในการจัดกลุ่มประเทศ

3 ลักษณะของประเทศด้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนา ความหมาย “ประเทศที่มีระดับรายได้ที่แท้จริงเฉลี่ยต่อบุคคลต่ำเมื่อเปรียบเทียบ กับประเทศอื่นๆ” Jacob Viner, “The Economic of Development” “ประเทศที่มีโอกาสหรือลู่ทางอย่างดีในการใช้ทรัพยากรไม่ว่าจะเป็นทุน แรงงานหรือทรัพยากรธรรมชาติให้มากขึ้น เพื่อยกระดับความเป็นอยู่ของประชากรปัจจุบันให้เพิ่มสูงขึ้นหรือไม่ให้ระดับความเป็นอยู่ของประชากรที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคตลดต่ำลง”

3 ลักษณะของประเทศด้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนา (ต่อ) พิจารณาได้จากความสามารถของประเทศนั้นๆ ในการจัดหาสินค้าและบริการในการอุปโภคบริโภคให้กับประชากร สรุป: “ประเทศที่ประชากรส่วนใหญ่ยากจนและยากจนมาเป็นเวลาช้านาน ซึ่งเกิดจากความไม่สามารถที่จะใช้ทรัพยากรที่ประเทศมีอยู่ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ได้ แต่ยังมีโอกาสที่จะนำเอาทรัพยากรมาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ เพื่อยกระดับความเป็นอยู่ของประชากรให้ดีขึ้น”

3 ลักษณะของประเทศด้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนา (ต่อ) สภาพที่คล้ายคลึงกันของประเทศกำลังพัฒนา มีดังนี้ มีอัตราการเพิ่มของประชากรค่อนข้างสูง จากอัตราการเกิดสูง มีกำลังแรงงานในภาคเกษตรมาก ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาต่ำ ประสิทธิภาพการผลิตต่ำ (low levels of productivity) มีรายจ่ายเกี่ยวกับอาหารและสิ่งจำเป็นในสัดส่วนที่สูงเทียบกับรายได้ การสะสมทุนหรือออมทรัพย์มีในกลุ่มเล็กๆ ที่ค่อนข้างร่ำรวย สินค้าออกเป็นวัตถุดิบ/สินค้าเกษตร สินค้าเข้าเป็นสินค้าอุตสาหกรรม อัตราการว่างงานค่อนข้างสูง มีอัตราการพึ่งพา (dependency ratio) สูง ประสิทธิภาพการผลิตในภาคเกษตรต่ำ เนื่องจากขนาดการผลิตส่วนใหญ่เป็นขนาดเล็ก พื้นที่ถือครองต่อครัวเรือนเกษตรต่ำ ประเทศไทยอยู่ที่ครัวเรือนละประมาณ 10 กว่าไร่ (ประมาณ 2 ha/ครัวเรือน) ก็ไม่แตกต่างกันมากกับประเทศอื่นๆ แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่แตกต่างกันมากกับเกษตรกรในประเทศที่พัฒนาแล้ว ที่ขนาดเฉลี่ยเป็นสิบเฮกตาร์ขึ้นไป ถึง100 โดยเฉพาะในประเทศบราซิล ที่ต่ำกว่า 50 ถือว่าเป็นฟาร์มขนาดเล็ก พื้นที่ขนาดเล็ก ย่อมไม่เกิดการผลิตที่ประหยัดต่อขนาด นอกจากนี้ ผลผลิตที่ต่ำยังเกิดจากผลิตภาพทางด้านแรงงานที่ต่ำด้วย ( low labour productivity) คือ มีการแรงงานมากในการผลิต มากกว่าทุน นอกจากนี้ยังมีปัจจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้องอีก เช่น การเข้าถึงแหล่งข้อมูลข่าวสาร ความรู้ในการผลิต แรงจูงใจในการผลิต การตลาด สินเชื่อ (จะเรียนภายหลัง) การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ต้องลงทุนในเครื่องมือในการผลิตหรือสินค้าประเภททุนพร้อมๆ กับการลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีทักษะในการผลิตและการจัดการฟาร์มมากขึ้น ผ่านการลงทุนด้านการศึกษาและการฝึกอบรม ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านสถาบันที่เกี่ยวข้องเพื่อทำให้การลงทุนด้านทรัพยากรทุนและมนุษย์มีศักยภาพเพิ่มขึ้น เช่น การปฎิรูปที่ดิน สินเชื่อ เป็นต้น 4.ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่เป็นค่าใช้จ่ายด้านอาหารและสิ่งจำเป็นในการดำรงชีพ แสดงว่ารายได้ต่ำ รายได้ส่วนใหญ่จะมีเพียงพอแค่จ่ายค่าอาหารและสิ่งจำเป็นพื้นฐานเท่านั้น ไม่มีเงินเหลือพอจะจับจ่ายใช้สอยด้านอื่นในสิ่งอำนวยความสะดวก ส่งผลต่อในประเด็นต่อไป 5.มีการออมต่ำ หรือการสะสมทุนของประเทศมีน้อย 6. สินค้าส่งออกเป็นสินค้าวัตถุดิบหรือสินค้าขั้นปฐมหรือสินค้าเกษตร (ใช้เป็นตัวชี้วัดโครงสร้างทางเศรษฐกิจอย่างหนึ่ง) สินค้านำเข้าเป็นสินค้าอุตสาหกรรมหรือเครื่องจักรกล หรือสินค้าสำเร็จรูปมากกว่า 7. ในด้านการทำงาน พบว่า ส่วนใหญ่ประเทศกำลังพัฒนา มีอัตราการว่างงานค่อนข้างสูง และมีการทำงานไม่เต็มที่ เช่น เกษตรกรว่างงานนอกฤดูการผลิต ก่อให้เกิดอัตราการพึ่งพาสูง หมายถึง คนทำงาน 1 คนต้องเลี้ยงคนที่ไม่ทำงานหลายคน เป็นต้น

3 ลักษณะของประเทศด้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนา (ต่อ) Todaro เพิ่มเติมว่า ลักษณะของประเทศกำลังพัฒนานั้นจะรวม มีมาตรฐานการครองชีพที่ต่ำ การกระจายรายได้ไม่เท่าเทียมกัน ประชากรส่วนใหญ่ยากจน มีความสัมพันธ์กับประเทศที่พัฒนาแล้ว ในลักษณะพึ่งพา และขาดเสถียรภาพ เมื่อเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้ว ประเทศกำลังพัฒนาจะมีมาตรฐานการครองชีพที่ต่ำกว่า เช่น สาธารณสุข สวัสดิการสังคม การคมนาคม โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ การกระจายรายได้ไม่เท่าเทียมกัน คนชนบทเมื่อเทียบกับคนเมืองจะจนลงเรื่อยๆ คนที่จนที่สุดในประเทศ คือ คนที่ประกอบอาชีพเกษตรกร รองลงมาคือ คนที่ไม่มีงานทำ อันดับสามคือ กรรมการ สุดท้าย มีความสัมพันธ์กับประเทศที่พัฒนาแล้วในลักษณะพึ่งพาและขาดเสถียรภาพ คือ ต้องพึ่งพาและขอความช่วยเหลือจากประเทศที่พัฒนาแล้ว ทั้งด้านการเงินและการค้า ประเทศกำลังพัฒนาเป็นผู้ผลิตสินค้าเกษตร เพื่อขายให้กับประเทศที่พัฒนาแล้ว จะถูกเอารัดความเปรียบจากประเทศที่พัฒนาแล้ว เป็นผู้กำหนดเงื่อนไขในการซื้อและมีอิทธิพลต่อราคาในตลาดโลก และพยายามปกป้องเกษตรกรในประเทศของตนเอง ด้วยวิธีการต่างๆ เพื่อกีดกั้นสินค้าที่จะเข้าไปแข่งขันกับเกษตรกรของตนเอง นอกจากนี้ บริษัทข้ามชาติของประเทศที่พัฒนาแล้วเหล่านี้ยังเป็นผู้ควบคุมการค้าระหว่างประเทศด้วย ไม่ว่าจะเป็นการขนส่ง การประกันภัย การธนาคาร ตลอดจนควบคุมปัจจัยการผลิต เช่น ปุ๋ยเคมี เครื่องมือการเกษตร ยากำจัดศัตรูพืช เป็นต้น ซึ่งการต้องการการพึ่งพาและช่วยเหลือ ทำให้ถูกชักจูงโดยประเทศที่พัฒนาแล้วไปในทางที่ประเทศเหล่านั้นต้องการ ซึ่งส่วนใหญ่ก็คือ ประเทศที่พัฒนาแล้วได้เปรียบ เช่น ให้เงินกู้ยืมในการพัฒนาประเทศ ภายใต้เงื่อนไขการปรับเปลี่ยนให้ต่างประเทศเข้ามาลงทุนในประเทศไทยได้มากขึ้น

4 การพัฒนาการเกษตรกับการพัฒนาชนบท การพัฒนาการเกษตรเชื่อมโยงกับการพัฒนาชนบทอย่างไร? ประชากรในชนบทส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตร การพัฒนาการเกษตรให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น จะส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจในชนบทดีขึ้น ประสิทธิภาพการผลิตภาคการเกษตรที่สูงขึ้น ส่งผลให้ค่าครองชีพในชนบทต่ำ การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการผลิตภาคการเกษตร นำความเจริญมาสู่ชนบทด้วย ดูบทบาทของภาคการเกษตรในการพัฒนาประเทศในบทที่ 2

ประชากรและแรงงานในประเทศพัฒนาและกำลังพัฒนา

จำนวนประชากรในชนบทและภาคเกษตร จำแนกตามกลุ่มประเทศ

จำนวนประชากรเกษตรและนอกเกษตรของไทย ตามแผนพัฒนาฯฉบับที่3-8 จำนวนประชากรเกษตรและนอกเกษตรของไทย ตามแผนพัฒนาฯฉบับที่3-8

สัดส่วนของประชากรเกษตรและนอกเกษตรของไทย ตามแผนพัฒนาฯฉบับที่3-8 สัดส่วนของประชากรเกษตรและนอกเกษตรของไทย ตามแผนพัฒนาฯฉบับที่3-8

ระดับการศึกษาของแรงงานไทย ปี 2541 เทียบกับ ปี 2546

เปรียบเทียบสัดส่วนของสินค้าส่งออก ระหว่างประเทศกำลังพัฒนาและประเทศพัฒนาแล้ว