4.3 ความล้มเหลวของตลาด (Market Failure)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวางแผนกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด
Advertisements

พรเทพ เบญญาอภิกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
กิจกรรมที่ 3 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การพัฒนาเครือข่ายสถาบันเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟ Coffee Cooperative Networks
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
วิกฤตเศรษฐกิจยุโรป นางสาวธณัฏชา ชลายนนาวิน
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
ระบบเศรษฐกิจ.
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
Revision Problems.
ระบบการบริหารการตลาด
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ชื่อ นางสาว สุนิสา แก้วจารนัย
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
อาจารย์มณทิพา ทับทิมอ่อน
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
Research Mapping.
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
Free Trade Area Bilateral Agreement
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
ธนกิจการเมือง Money Politics.
ตลาดและการแข่งขัน.
ได้กล่าวว่า ในระดับบุคคลข่าวสารที่ ได้จากระบบ ช่วยทั้งในแง่ ส่วนตัวและวิชาชีพ ในระดับองค์การ การจะมีส่วนช่วยองค์การให้มี ประสิทธิภาพจะมีผลกระทบต่อกล ยุทธ์และความสำเร็จขององค์การ.
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
การเลือกบรรจุภัณฑ์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
ทิศทางการพัฒนาการเกษตรไทย
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ความหมายของการบริการ
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
สรุปการฝึกอบรม วันแรก แรงบันดาลใจ ความ คาดหวัง วิเคราะห์สถานการณ์ แรงงานจากวิกฤติ เศรษฐกิจ กรณีศึกษาที่เกิดขึ้น จริง ประวัติศาสตร์แรงงาน ไทย วันที่สอง.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทบาทของข้อมูลการตลาด
ตลาด ( MARKET ).
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
การจัดการส่วนประสมการตลาดในช่องทางการตลาด
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การคลัง ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

4.3 ความล้มเหลวของตลาด (Market Failure) สาเหตุของความล้มเหลวของตลาด โครงสร้างของตลาด (ทmarket structure) ที่เบี่ยงเบนไปจากตลาดแข่งขันสมบูรณ์ การทำงานของตลาดไม่สามารถสะท้อนต้นทุนหรือผลประโยชน์ที่แท้จริงของทรัพยากรจากผลกระทบต่อภายนอก (externalities)

ผลของความล้มเหลวของตลาด การจัดสรรทรัพยากรขาดประสิทธิภาพ สินค้าราคาแพงและมีปริมาณน้อยกว่าที่ควรจะเป็น ใช้ทรัพยากรมากเกินไป – ทรัพยากรเสื่อมโทรม เกิดอันตรายต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมที่เป็นประโยชน์มีน้อยกว่าความต้องการของสังคม รัฐบาลต้องเข้ามาแก้ไขโดยการดำเนินนโยบายเพื่อลดหรือขจัดผลกระทบ

การแทรกแซงของรัฐเพื่อแก้ไขความล้มเหลวของตลาด การแทรกแซงราคาหรือการควบคุมราคา กฎระเบียบการป้องกันการผูกขาด นโยบายการส่งเสริมการแข่งขัน การใช้นโยบายภาษีต่อกิจกรรมที่มีผลกระทบต่อภายนอกในทางลบ เช่น ภาษีน้ำเสีย ภาษีสารเคมี ภาษีกำไรจากการผู้ขาด เป็นต้น การสนับสนุนกิจกรรมที่เกิดประโยชน์ต่อสาธารณะ เช่น การจัดให้มีสินค้าสาธารณะ การให้ความช่วยเหลือหรือสิทธิพิเศษ เป็นต้น