ปาล์มน้ำมัน เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา (แถบแอฟริกาตะวันตก)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
Advertisements

รายงานสถานการณ์การผลิตข้าว
การถอดความรู้ เรื่องการผลิตสับปะรดโรงงาน
การลดปัญหาเนื้อแก้วยางไหล ในการผลิตมังคุดในภาคใต้
สิงคโปร์.
ประเทศอาเซียน ประเทศพม่า.
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
คนย้ายถิ่นหนีไฟใต้แล้วกว่า 1ล้านคน
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
บทที่ 2 สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ
ปาล์มน้ำมัน ส่งเสริมการแปรรูปผลผลิตปาล์มเป็นน้ำมันปาล์มดิบ
สำนักงานประมงจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
สังคมศึกษา จัดทำโดย ชื่อ ด.ช. พีรวัส เกิดสมนึก เลขที่11 นำเสนอ
จัดทำโดย ด.ช.ชนสรณ์ ศรีงาม เสนอ อ.ฐิตาพร ดวงเกตุ
สังคมศึกษา จัดทำโดย ชื่อ ด.ช. ประพันธ์ คำแผน เลขที10
เหตุการณ์สำคัญในภูมิภาคต่าง ๆของโลก ที่มีผลต่อพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของโลก การสำรวจทางทะเล แต่เดิมการติดต่อค้าขายของคนในต่างทวีปทำได้ยาก.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
การขอรับการสนับสนุนน้ำเพื่อการเกษตรจากเขื่อนนเรศวร
ส่วนฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์
สภาพภูมิศาสตร์ อำเภออมก๋อยมีพื้นที่ทั้งหมด 2,099 สภาพภูมิศาสตร์ อำเภออมก๋อยมีพื้นที่ทั้งหมด 2, ตารางกิโลเมตรหรือคิดเป็นพื้นที่ 1,365,
การประชุมความคืบหน้าโครงการไตรภาคี
โครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
โครงการงบผูกพันข้ามปี
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
วิวัฒนาการ วิวัฒนาการของมนุษย์....
แนวทางการดำเนินงานส่วนภูมิภาค ปีงบประมาณ 2550 กลุ่มงานส่งเสริมภูมิปัญญาแพทย์แผนไทยและสมุนไพร สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก.
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
ลักษณะทางกายภาพ ของทวีปแอฟริกา Afica.
เรื่อง ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมการเมือง
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
สภาพทางเศรษฐกิจ ใน ยุโรป.
ลักษณะทางภูมิภาคทวีปยุโรป
การถ่ายโอนภารกิจให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการส่งเสริมการปลูกปาล์มน้ำมันพันธุ์ดี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการ ท่องเที่ยวและกีฬา สรุปสถานการณ์นักท่องเที่ยว เดือน กรกฏาคม ปี 2556 วันที่ 26 สิงหาคม ปี 2556.
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จังหวัดจันทบุรี นายมณเฑียร สุขผลรหัสนิสิต คณะสาธารณสุขศาสตร์
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
แบ่งออกเป็น 3หมวด คือ 1. ข้อมูลหมวด ก. เป็นข้อมูลส่วนบุคคลของ เกษตรกร ประกอบด้วย ข้อ 1. ลักษณะการประกอบการเกษตร ข้อ 2. สมาชิกในครัวเรือนที่ร่วมกิจกรรม.
ปัจจัยที่ประสบความสำเร็จ
รายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
เผือกฉาบ. เผือกฉาบ ขั้นตอนและวิธีการทำเผือกฉาบ สารบัญ ที่มาและความสำคัญ วัสดุ และอุปกรณ์ ขั้นตอนและวิธีการทำเผือกฉาบ.
สภาพทั่วไป จังหวัดพิจิตร อ.ชุมแสง อ.ท่าตะโก อ.ไพศาลี
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
ผู้ช่วยเลขา สามารถจัดตั้งกองทุนพัฒนา อาชีพการเกษตร เพื่อช่วยเหลือ เกษตรกรเป็น แบ่งการบริหาร ลงในกลุ่มรับผิดชอบทั้งหมด 5 กลุ่ม คือ 1. กองทุนพันธุ์สัตว์
กลุ่มที่14 เรื่องแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดสุราษร์ธานี
การออกแบบการเรียนรู้ โดย ครูจตุพล สุทธิพันธ์
ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วย เกาะต่าง ๆ ประมาณ 17,508 เกาะ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
Republic of Singapore.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
โดย 2.น.ส.ญานิดา พูนสวัสดิ์ ม.6/5 เลขที่ 33
กลุ่มสับปะรด 1. นายนิวัต ใจรินทร์ สนง.กษจ.ลำปาง(ประธาน )
ชื่อจุดถ่ายทอดเรื่อง การเพาะและขยายพันธุ์ต้นกล้ายางพารา วิทยากรประจำจุด นายภูสิต น่าเยี่ยม สถานที่ดำเนินการ 77 หมู่ที่ 1 ตำบลไสไทย อำเภอเมือง กระบี่ จังหวัดกระบี่
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
โครงการฝายยางลำเซบาย ตำบลนาหมอม้า อำเภอเมือง จังหวัดอำนาจเจริญ
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
เรื่องที่นักส่งเสริมการเกษตรควรรู้
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปาล์มน้ำมัน เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา (แถบแอฟริกาตะวันตก) ปี พ.ศ. 2391 ชาวโปรตุเกสได้ริเริ่มนำปาล์มน้ำมันเข้ามาปลูกในทวีปเอเชีย โดยเริ่มปลูกที่สวน พฤกษศาสตร์ เมืองโบกอร์ ประเทศอินโดนีเซีย

ในช่วงปี พ.ศ. 2396-2400 ได้แพร่กระจายพันธุ์มายังเกาะสุมาตราและเริ่มปลูกเป็นการค้าอย่างจริงจังเมื่อปี พ.ศ. 2454 ปี พ.ศ. 2461 มีพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันในเกาะ สุมาตรา 22,500 ไร่

ปี พ.ศ. 2413 มาเลเซีย ได้เริ่มปลูกปาล์มน้ำมันครั้งแรกที่สวนพฤกษศาสตร์ สิงคโปร์ และมีการค้นคว้าวิจัยครั้งแรกที่กรมวิชาการเกษตรในรัฐ Selangor การปลูกปาล์มน้ำมันเป็นการค้าครั้งแรกในประเทศมาเลเซีย เริ่มในปี พ.ศ. 2460 ที่ Estate ของรัฐ Selangor จนถึงปัจจุบันทั้งประเทศอินโดนีเซีย และมาเลเซียมีพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันรวมกัน ประมาณ 37.04 ล้านไร่

ปาล์มน้ำมันถูกนำเข้ามาในประเทศไทย โดย พระยาประดิพัทธ์ภูบาล เมื่อ 60 ปีก่อนจากอินโดเนเซีย มาเลเซีย ใน ปี 2472 ปลูกเป็นปาล์มประดับ ที่สถานีทดลองยางคอหงส์ จังหวัดสงขลา และ สถานีกสิกรรมพลิ้ว จังหวัดจันทบุรี

เมื่อปี 2511 มีการส่งเสริมการปลูกเป็นพื้นที่ใหญ่ เริ่มโดยโครงการนิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ จังหวัดสตูล เนื้อที่ประมาณ 20,000 ไร่ และโครงการบริษัทอุตสาหกรรมน้ำมัน และ สวนปาล์มจำกัด (สวนเจียร วานิช) ตำบลปลายพระยา อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ ประมาณ 20,000 ไร่

ประวัติการพัฒนาการปลูกปาล์มน้ำมันในประเทศไทย  ระยะแรก ปี 2472 -2525 (ประมาณ 50 ปี) เป็นช่วงระยะเวลาที่มีการขยายพื้นที่ค่อนข้างช้า  ระยะที่สอง จากปี 2525 - 2545 เป็นระยะที่มีการพัฒนาการขยายพื้นที่ปลูกอย่างรวดเร็ว ซึ่งเฉลี่ยแล้วมีการเพิ่มพื้นที่ปลูก ประมาณ 50,000-100,000 ไร่ต่อปี ปัจจุบัน (พ.ศ. 2550) มีพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน ประมาณ 3,3000,000 ไร่