โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

ประเด็นการตรวจติดตาม
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร.
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2552.
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
คุณสมบัติ ของ Smart Farmer -  1. รายได้ไม่ต่ำกว่า 180,000 บาท/ครัวเรือน/ปี  2. ผ่านคุณสมบัติพื้นฐาน (ผ่านอย่างน้อย 1 ตัวบ่งชี้ ของคุณสมบัติแต่ละด้าน)
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
โครงการ ส่งเสริมการผลิตข้าว ที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นางสาววิไลวรรณ ดุลยพัฒน์
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลช้างทูน อำเภอบ่อ ไร่ จังหวัดตราด.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ นายสมเกียรติ วิจิตรประเสริฐ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
โครงการ จัดระบบสินค้าเกษตรในระดับพื้นที่
โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตกาแฟ
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
แผนปฏิบัติงาน 5 ปี (2553 – 2557) นิคมการเกษตรข้าวหอมมะลิ
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
(กิจกรรมการเลี้ยงโคเนื้อ)
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
จังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
1.1 ผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการของ จังหวัด 1) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบายการกำ ดับดูแลองค์การที่ดีจังหวัดแพร่ 2) ปฏิบัติราชการตามคำรับรองปฏิบัติราชการและการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)

ความสอดคล้องกับยุทธศาตร์ 1.ยุทธศาสตร์การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมี เสถียรภาพและยั่งยืน : แผนงานส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิต และสร้างมูลค่าภาคการเกษตร 2.ยุทธศาสตร์การจัดการด้านอาหารของประเทศไทย ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านความมั่นคงทางอาหาร ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพ และความปลอดภัยอาหาร 3.ยุทธศาสตร์ครัวไทย ครัวโลก ที่มุ่งเน้นให้ประเทศไทยเป็นแหล่ง ผลิตอาหารของโลก

วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อพัฒนาเกษตรกรให้สามารถผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัย (พืชผัก) - สารเคมี - จุลินทรีย์

เป้าหมายดำเนินการ 77 จังหวัด เกษตรกร 17,640 ราย

กิจกรรม จัดทำหลักสูตรการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย พัฒนาความรู้เรื่องการผลิตสินค้าเกษตปลอดภัย พัฒนากลุ่มผู้ผลิตผักปลอดภัยจากสารพิษ จัดกระบวนการเรียนรู้สำหรับเกษตรกร สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์สำหรับการเรียนรู้ จัดทำวัสดุต้นแบบบรรจุภัณฑ์ การพัฒนาระบบส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย

โครงการส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก) ปี 2556 หลักสูตรการผลิต สินค้าเกษตรปลอดภัย ดูงาน จุดเรียนรู้ แปลงต้นแบบ ตลาด - พื้นที่ / ชุมชน - ขายส่ง Hyper market - โรงพยาบาล ร้านอาหาร ฯลฯ บรรจุภัณฑ์ ผลผลิตปลอดภัย เกษตรกร จำนวน 17,640 ราย พัฒนาความรู้ เจ้าหน้าที่ ตรวจวิเคราะห์ สารเคมีตกค้าง ผู้บริโภค จัดกระบวนการเรียนรู้ - เพื่อวิเคราะห์ปัญหา/สาเหตุ - ถ่ายทอดความรู้ ในประเด็นปัญหา และเกษตรกรมีความต้องการเรียนรู้ พัฒนากลุ่มผู้ผลิต ผักปลอดภัย - จัดเวทีชุมชน คัดเลือกพื้นที่/ เกษตรกร สนับสนุน วัสดุอุปกรณ์ สำหรับ การเรียนรู้

วิธีการดำเนินงาน พัฒนากลุ่มผู้ผลิตผักปลอดภัยจากสารพิษ 1.รับสมัครเกษตรกร 2. คัดเลือกพื้นที่ และเกษตรกร อำเภอละ 1 กลุ่ม -เกษตรกรที่ผลิตผักเชิงการค้า/กลุ่มที่เข้าร่วม โครงการปี2555 ที่ต้องการัฒนา ต่อยอดการดำเนินงาน -มีความตั้งใจที่จะผลิตผักปลอดภัย -พร้อมที่จะปฏิบัติตามเงื่อนไขของโครงการ 3.อำเภอจัดทำข้อมูลเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ

วิธีการดำเนินงาน จัดกระบวนการเรียนรู้สำหรับเกษตรกร -การถ่ายทอดความรู้การผลิตผักปลอดภัยให้ตรง ตามความต้องการของเกษตรกรอย่างต่อเนื่อง -เน้นการมีส่วนร่วมของเกษตรกร - ดำเนินการทุกอำเภอ ทั้งนี้หากอำเภอใดไม่มีพื้นที่ และเกษตรกรที่ตรงตามเงื่อนไขของโครงการไม่สามารถ ดำเนินการได้ อำเภอชี้แจงเหตุผลและจังหวัดสามารถปรับไป ดำเนินการเพิ่มจำนวนกลุ่มและเกษตรกรในอำเภออื่นที่มี ศักยภาพ และเกษตรกรมีความต้องการได้

วิธีการดำเนินงาน จัดกระบวนการเรียนรู้สำหรับเกษตรกร(ต่อ) เน้นการดำเนินงานในรูปกลุ่ม โดย การดำเนินการครั้งที่1 อำเภอจัดเวทีชุมชน - ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุที่ทำให้เกษตรกรไม่สามารถผลิตพืชผักปลอดภัยได้ - ร่วมกันหาแนวทางที่ต้องการพัฒนาการดำเนินงานของกลุ่ม - วางแผนการดำเนินงานตามความต้องการของเกษตรกร

วิธีการดำเนินงาน จัดกระบวนการเรียนรู้สำหรับเกษตรกร(ต่อ) ครั้งต่อไป เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามประเด็นปัญหาของเกษตรกร รวมทั้งการพาไปดูแปลงต้นแบบต่างๆ

วิธีการดำเนินงาน สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์สำหรับการเรียนรู้ อำเภอจัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับการเรียนรู้ต่างๆ ที่ตรงกับความต้องการของเกษตรกรที่จะเรียนรู้ร่วมกัน ได้แก่ 1.วัสดุทางการเกษตรต่างๆ เช่น เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ยอินทรีย์ สารชีวภัณฑ์ ฯลฯ 2.วัสดุอุปกรณ์ในการจัดทำแปลง 3.สื่อ สิ่งพิมพ์ เอกสารต่างๆ

ผลผลิต ผลลัพธ์ และตัวชี้วัด เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 17,640 ราย ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย ผลลัพธ์ เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 60 สามารเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก) ตัวชี้วัด เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 17,640 ราย ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้ผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)

กลุ่มส่งเสริมการผลิตผัก โทร o29406106