ทฤษฎีการพยาบาล กับ การประยุกต์ใช้ในการพยาบาลจิตเวช ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเรม ทฤษฎีการปรับตัวของรอย อ.อัศวินี นามะกันคำ
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเรม
มโนมติขององค์ประกอบ คน สิ่งแวดล้อม สุขภาพ การพยาบาล
คน เป็นองค์รวม เป็นระบบเปิด มีความสามารถในการเรียนรู้เกี่ยวกับตนเอง เป็นองค์รวม เป็นระบบเปิด มีความสามารถในการเรียนรู้เกี่ยวกับตนเอง มีการวางแผนการจัดระบบการดูแลตนเอง
สิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ สิ่งแวดล้อมทางสังคมและวัฒนธรรม ชุมชน
สุขภาพ คนที่มีสุขภาพดี : ทำหน้าที่ทั้งด้านสรีระ จิตสังคม และมีความสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลอื่น บุคคลต้องดูแลตนในระดับที่เพียงและต่อเนื่อง
การพยาบาล บริการสุขภาพที่เน้นที่ความสามารถและความต้องการการดูแลของบุคคล เป็นการช่วยปฏิบัติกิจกรรมการดูแลตนเองแทนบุคคล เมื่อบุคคลนั้นไม่สามารถกระทำได้ และช่วยให้บุคคลสามารถดูแลตนเองได้อย่างเพียงพอและต่อเนื่อง
ทฤษฎีการพยาบาาล Self-care Therapeutic self-care demand Self-care agency Self-care deficit Nursing agency Basic conditioning factor
ทฤษฎีการดูแลตนเอง การดูแลตนเองที่จำเป็น ความต้องการการดูแลตนเองทั้งหมด ความสามารถในการดูแลตนเอง และ การกระทำการดูแลตนเอง
การดูแลตนเองที่จำเป็น การดูแลตนเองที่จำเป็นโดยทั่วไป การดูแลตนเองที่จำเป็นตามระยะพัฒนาการ การดูแลตนเองที่จำเป็นเมื่อมีปัญหาทางด้านสุขภาพ
ความต้องการการดูแลตนเองทั้งหมด กิจกรรมที่บุคคลต้องกระทำในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งเพื่อสนองตอบความต้้องการการดูแลที่จำเป็นของตนเอง
ความสามารถในการดูแลตนเอง ความสามารถของบุคคลในการทำงานเพื่อสนองความต้องการการดูแลตนเองทั้งหมด ความสามารถและคุณสมบัติขั้นพื้นฐาน พลังอำนาจ
ทฤษฎีความบกพร่องในการดูแลตนเอง ความต้องการการดูแล > ความสามารถที่จะตอบสนอง บุคคลต้องการการพยาบาล ความพร่องในการดูแล เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง ความสามารถในการกระทำ + งานทั้งหมดที่ต้องทำ
ทฤษฎีระบบการพยาบาล ความสามารถทางการพยาบาล ระบบการพยาบาล
ระบบทางการพยาบาล ระบบทดแทนทั้งหมด ระบบทดแทนบางส่วน ระบบสนับสนุนและให้ความรู้
ระบบทดแทนทั้งหมด ใช้กับผู้ป่วยที่ บทบาทพยาบาล ดูแลตามความต้องการทั้งหมดของผู้ป่วย ชดเชยภาวะไร้สมรรถภาพ ช่วยประคับประคอง และปกป้อง ใช้กับผู้ป่วยที่ ไม่สามารถปฏิบัติกิจกรรม ไม่สามารถเคลื่อนไหว ไม่สนใจ/เอาใจใส่ตนเอง
ระบบทดแทนบางส่วน บทบาทพยาบาล บทบาทผู้ป่วย ปฏิบัติกิจกรรมบางอย่างแทนผู้ป่วย ชดเชยข้อจำกัด และ เพิ่มความสามารถให้ผู้ป่วย ช่วยผู้ป่วยตามที่ผู้ป่วยต้องการ บทบาทผู้ป่วย ปฏิบัติกิจกรรมการดูแลตนเองบางอย่าง พัฒนาความสามารถ ยอมรับความช่วยเหลือจากพยาบาล
ระบบสนับสนุนและให้ความรู้ บทบาทผู้รับบริการ เรียนรู้ในการตัดสินความต้องการ ดูแลตนเองทั้งหมด บทบาทพยาบาล ให้ความรู้และสนับสนุน กระตุ้นและให้กำลังใจ
ขั้นตอนการใช้ทฤษฎีโอเรม ขั้นที่ 1 ความต้องการ วินิจฉัย : หาความต้องการดูแลตนเองที่เฉพาะเจาะจง กำหนด : ความต้องการกระทำ ขั้นที่ 2 ความสามารถ วินิจฉัย : ความสามารถและข้อจำกัด
ขั้นตอนการใช้ทฤษฎีโอเรม (ต่อ) ขั้นที่ 3 : ความพร่อง วินิจฉัย : ความพร่องในการดูแลตนเอง ขั้นที่ 4 : ระบบการพยาบาล กำหนด : รูปแบบการพยาบาล กำหนด : บทบาท + การกระทำของพยาบาล และผู้ป่วย