สำนักงานเกษตรจังหวัดขอนแก่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการระดับ เขต (RW) ครั้งที่ ๒ / ๒๕๕๖ และงานแสดงมุทิตาจิตผู้ เกษียณอายุราชการ ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ วันที่ ๒ - ๔ กันยายน ๒๕๕๖ ณ โรงแรมสตาร์
Advertisements

สรุปผลการศึกษาผลตอบแทนการปลูกยางพาราในรอบปี 2555
ดำเนินการโดย สำนักงานเกษตรอำเภอวังม่วง อำเภอวังม่วง จังหวัด สระบุรี
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
โครงสร้างที่ ก.พ. กำหนดไว้เดิม โครงสร้างที่ขอปรับปรุงใหม่
การประชุมความคืบหน้าโครงการไตรภาคี
แผนที่ตำบลหนองไฮ อำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอำนาจเจริญ
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
ตำบลบ้านเหล่า อำเภอเจริญศิลป์
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ปัญหา ….. ผลผลิต / รายได้ต่ำเพราะใช้พื้นที่ ผลิตพืชไม่เหมาะสม พื้นที่มีกำไร (40%) พื้นที่เท่า ทุน (40%) พื้นที่กินทุน ( ที่ลุ่ม ) พื้นที่กินทุน ( ที่ดอน.
สรุปผลการดำเนินงานฯ ปีงบ 2556
ครอบคลุมพื้นที่ 33 จังหวัด 20 โรงงาน จังหวัด..จัดการ..อย่างไร
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ศูนย์ข้าวชุมชนบ้านหมี่ ต.เขวา อ.เมือง จ.มหาสารคาม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวินัย ไชยอุดม
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 1 ดอกแก้วภูพาน จ. สกลนคร จ. สุรินทร์ จ. หนองคาย จ. หนองบัวลำภู จ. อุดรธานี
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ระบบส่งเสริมการเกษตร
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
การพัฒนาศักยภาพการผลิตลำไยคุณภาพภาคเหนือ ปี
ผู้เข้าร่วมสัมมนา รวม ๒๐๕ คน
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนาท
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)
กลุ่มที่ 4 กลุ่มเฟื่องฟ้า
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ สำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning)
ประชุมประจำเดือนมิถุนายน 2554 โดย.. นายเดชา กิตติตระกูล.
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
โครงการ ฝึกอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน ปี 51
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
แผนปฏิบัติงาน 5 ปี (2553 – 2557) นิคมการเกษตรข้าวหอมมะลิ
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
ประชุมคณะอนุกรรมการนโยบาย ข้าวแห่งชาติด้านการผลิต ครั้งที่ 2 / ๒๕๕ 5 วันที่ 21 มิถุนายน ๒๕๕ 5 เวลา น. ณ ห้องประชุมกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ 123.
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
ระบบการติดตามและรายงาน โครงการในพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้
วัตถุประสงค์ เพื่อสำรวจข้อมูลผลผลิตเมล็ดพันธุ์ของศูนย์ข้าวชุมชน ในปีการผลิต 2554/2555 เพื่อใช้เป็นข้อมูลแหล่งเมล็ดพันธุ์ข้าวในการสนับสนุนมาตรการเยี่ยวยาชาวนาหลังน้ำลด.
การใช้ประโยชน์ที่ดินด้านการเกษตรกรรม จังหวัดปทุมธานี
เทคนิคการวิเคราะห์พื้นที่ และเทคโนโลยีการผลิตพืช
กลุ่มสับปะรด 1. นายนิวัต ใจรินทร์ สนง.กษจ.ลำปาง(ประธาน )
การใช้ MRCF เพื่อพัฒนาศูนย์ข้าวชุมชน ตำบลบางกะไห นางสาวยุวดี ฮวดวิเศษ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ.
มิติผลการปฏิบัติงาน (Performance) คะแนน ร้อยละความสำเร็จของการจัดที่ดิน ร้อยละความสำเร็จของการจัดที่ดินทำกิน พื้นที่ X-ray การรังวัด.
การวิจัย และองค์ความรู้จากโครงการหลวง
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายบุญสวย เชื้อสะอาด
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลดอนดึง อำเภอ บ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายสุ กัญญา หนุนบุญ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลหนองข่า อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย อัมพร เหง้ากอก เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานเกษตรจังหวัดขอนแก่น การใช้ Zoning ในการปรับเปลี่ยน พื้นที่ปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม เป็นอ้อยโรงงาน ของจังหวัดขอนแก่น สำนักงานเกษตรจังหวัดขอนแก่น

แผนที่พื้นที่นาข้าว จ.ขอนแก่น (S1+S2+S3+N) 2,719,556 ไร่

แผนที่พื้นที่อ้อย จ.ขอนแก่น (S1+S2+S3+N) 930,7066 ไร่

แผนที่พื้นที่ผลิตอ้อยโรงงาน จ.ขอนแก่น และที่ตั้งโรงงานน้ำตาล แหล่งผลิตสำคัญได้แก่ กระนวน น้ำพอง เขาสวนกวาง เมืองขอนแก่น สีชมพู มัญจาคีรี ที่ตั้งโรงงานน้ำตาล ๑. รง.ขอนแก่น ๒.รง.มิตรภูเวียง ๓.รง.วังขนาย ๔.รง.อ่างเวียน

พื้นที่ปลูกข้าวของ จ.ขอนแก่น (Land used) รวม (S1+S2+S3+N) = 2,719,556 ไร่ (S1+S2) = 1,805,850 ไร่ (S3+N) = 913,706 ไร่ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกอ้อย (Zoning) (S1+S2) = 4,108,460 ไร่ พื้นที่ปลูกอ้อยของ จ.ขอนแก่น (Land used) รวม (S1+S2+S3+N) = 930,706 ไร่ (S1+S2) = 825,010 ไร่

พื้นที่เป้าหมายจากการซ้อนทับข้อมูลในแผนที่ ดังนี้ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกอ้อย (S1+S2)(Zoning) 2. S1+S2 ที่มีการปลูกอ้อยแล้ว (Land Used) 3. S3+N ที่มีการทำนา (Land Used) 4. พื้นที่ในรัศมี 50 กม. จากโรงงาน ได้พื้นที่เป้าหมาย 499,770 ไร่

แผนที่พื้นที่เป้าหมายปรับเปลี่ยนนาข้าว ที่ไม่เหมาะสมเป็นอ้อย จ.ขอนแก่น เป้าหมาย 26 อำเภอ 449,770 ไร่

เพื่อปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกข้าวในที่ไม่เหมาะสม การขับเคลื่อนนโยบายการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม เพื่อปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกข้าวในที่ไม่เหมาะสม เป็นอ้อยโรงงาน จังหวัดขอนแก่น

การขับเคลื่อน ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม มีคณะ กก.อำนวยการ (ผวจ. ประธาน) และคณะทำงานขับเคลื่อนฯ ระดับจว. (กษ.จ. ประธาน) ประสานงานและบูรณาการกับภาคีต่างๆ ในพื้นที่ เป็นการดำเนินการที่ได้รับประโยชน์ร่วมกันทุกฝ่าย (Win-Win Situation) 9 9

จังหวัด ส่งพื้นที่เป้าหมายให้อำเภอดำเนินการ (อ.เมือง 56,533 ไร่) แผนที่พื้นที่เป้าหมายปรับเปลี่ยนนาข้าว ที่ไม่เหมาะสมเป็นอ้อย อ.เมืองขอนแก่น จังหวัด ส่งพื้นที่เป้าหมายให้อำเภอดำเนินการ (อ.เมือง 56,533 ไร่)

อำเภอ ส่งพื้นที่เป้าหมายให้ตำบลดำเนินการ (ต.ดอนหัน อ.เมือง 14,418 ไร่) แผนที่พื้นที่เป้าหมายปรับเปลี่ยนนาข้าว ที่ไม่เหมาะสมเป็นอ้อย ต.ดอนหัน อ.เมืองขอนแก่น อำเภอ ส่งพื้นที่เป้าหมายให้ตำบลดำเนินการ (ต.ดอนหัน อ.เมือง 14,418 ไร่)

ความสามารถในการรับผลผลิตเพิ่ม ของ รง.น้ำตาลที่ร่วมโครงการ 4 รง. ของ รง.น้ำตาลที่ร่วมโครงการ 4 รง. รง.ขอนแก่น 500,000 ตัน (50,000 ไร่) รง.มิตรภูเวียง 1,000,000 ตัน (100,000 ไร่) รง.อ่างเวียน 300,000 ตัน (30,000 ไร่) รง.วังขนาย 270,000 ตัน (27,000 ไร่) รวม 2,070,000 ตัน (207,000 ไร่) การดำเนินงานการปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกอ้อยนั้น จะต้องจะต้องนำข้อมูลความสามารถในการรับผลิตเพิ่มของโรงงานมาพิจารณา 12 12

แผนที่พื้นที่เป้าหมายปรับเปลี่ยนนาข้าว ที่ไม่เหมาะสมเป็นอ้อย จ.ขอนแก่น เป้าหมาย 26 อภ. 449,770 ไร่ Fสนใจ 4.500 ราย 30,377 ไร่ ปลูกแล้ว 864 ราย 15,058 ไร่

การสนับสนุน อบรมให้ความรู้นักส่งเสริมการเกษตร เรื่องเทคโนโลยีการผลิตอ้อย นักส่งเสริมการเกษตรถ่ายทอดความรู้สู่เกษตรกร โครงการปลูกข้าวไร่หลังรื้อต่ออ้อย (ตัดวงจรโรคใบขาวอ้อย) แปลงส่งเสริมปลูกอ้อยพันธุ์ดี/อ้อยปลอดโรคในพท. นาน้ำท่วมซ้ำซาก และพท.นาดอน (งบพัฒนา จว. / กลุ่ม จว.) ใช้เทคโนโลยี “ปุ๋ยสั่งตัด” เพื่อลดต้นทุนการผลิต ศึกษาแปลงอ้อยที่เก็บเกี่ยวได้ 10 ครั้ง จากการปลูกครั้งเดียว 14 14