แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Knowledge Management (KM)
Advertisements

จัดการความรู้/มุมมองแนวคิด CoP
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (Care & Share Meeting No
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
กระบวนการ KM มี 7 ขั้นตอน
แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
7 ขั้นตอนในการจัดการความรู้ ของ กพร.
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
(Knowledge Management : A Tool for Strategic Success)
Knowledge Management (KM)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การศึกษาการจัดการความรู้ของบริษัท ดั๊บเบิ้ล เอ จำกัด (มหาชน)
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การจัดการศึกษาในชุมชน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การทำงานเชิงกระบวนการในชุมชน
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
Communities of Practice (CoP)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
เป็นนโยบายต่อเนื่อง ซึ่งกำหนดให้มี การพัฒนาหน่วยงานให้เป็นองค์กร แห่งการเรียนรู้ ด้านกำลังพล.
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
รวบรวม /ปรับปรุง/เสริมแต่ง
ยุทธศาสตร์ที่ 2: ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น นำ KM ไปใช้ 1. ระดับศูนย์เขต 1.1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสริมสร้างศักยภาพ ชมรมเด็กไทยทำได้ วันที่
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติตามคู่มือสำนักงานคณะกรรมการกระจายอำนาจ ฯ
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
กระบวนการจัดการความรู้ สชป.๑๗
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การลดต้นทุนการผลิตพืช ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์ มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
ดร.พรธิดา วิเศษศิลปานนท์
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
เทคนิคการจัดการความรู้ ทางอิเล็กทรอนิกส์
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
การจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีกลไกในการบริหารจัดการ สำนักอำนวยการ สป. องค์ความรู้การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ภาพลักษณ์และแนะนำองค์กร.
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
ยินดีต้อนรับ ผู้อำนวยการกองพัสดุ และคณะ วันพุธที่ 6 สิงหาคม 2557.
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ บุญรัตน์ สุขมาก กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร RW2/53 เขต 1 มิย. 53

จัดการความรู้...เพื่ออะไร?

เพราะอะไร? ถึงต้องจัดการความรู้?

จัดการความรู้...มันดีตรงไหน?

แนวคิดการจัดการความรู้ 1. ความรู้คืออะไร ★ สิ่งที่ทำให้คนเข้าใจ ★ นำมาปฏิบัติ/ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ ความรู้ประกอบด้วย ☞ ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ☞ ความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge)

แนวคิดการจัดการความรู้ 2. ทำไมต้องจัดการความรู้ อดีต - ถ่ายทอดความรู้ - เรียนและเสาะแสวงหาองค์ความรู้ - จัดเวทีเรียนรู้เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ - รวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้ ปัจจุบัน

แนวคิดการจัดการความรู้ 3. การจัดการความรู้ คือ ... กระบวนการที่ผู้ปฏิบัติงานในองค์กรได้ร่วมกันวิเคราะห์และรวบรวมองค์ความรู้ที่ชัดแจ้ง และองค์ความรู้ที่ฝังลึกในเจ้าหน้าที่ นำมาจัดการให้เป็นระบบ เพื่อให้สมาชิกในองค์กรสามารถเข้าถึง และนำไปใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

แนวคิดการจัดการความรู้ 4. เป้าหมายการจัดการความรู้ ► พัฒนาคน ► พัฒนางาน ► พัฒนาองค์กร/หน่วยงาน ► พัฒนาชุมชน สังคม ประเทศ

แนวคิดการจัดการความรู้ 5. ประโยชน์ของการจัดการความรู้ เพิ่มทุนปัญญาแก่องค์กร สร้างนวัตกรรมและการเรียนรู้ เพิ่มขีดสมรรถนะในการทำงาน เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าขององค์กร เกิดการพัฒนาและดำรงขององค์กร

แนวคิดการจัดการความรู้ 6. ใครเป็นผู้ขับเคลื่อนการจัดการความรู้ บุคลากรที่มีความรู้ ความเข้าใจใน เครื่องมือจัดการความรู้ (KM) และงานที่ทำ บุคลากรที่สามารถ นำความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ของบุคลากรที่แตกต่างกันให้สามารถนำออกมาแสดงออกให้ อย่างชัดเจนด้วยวิธีต่าง ๆ

แนวคิดการจัดการความรู้ 7. กระบวนการจัดการความรู้ 7 ขั้นตอน แบ่งปันแลกเปลี่ยน บ่งชี้ เรียนรู้พัฒนา สร้างและแสวงหา ประมวลกลั่นกรอง เข้าถึงและนำไปใช้ จัดเป็นระบบ

วันนี้..... กับการจัดการความรู้ ของกรมส่งเสริมการเกษตร

มีเนื้อหาเทคโนโลยีวิชาการเกษตร มีเวทีเรียนรู้ ตามระบบส่งเสริมฯ มีเวทีเรียนรู้ ตามระบบส่งเสริมฯ องค์กรเรามีอะไรบ้าง? มีบุคลากรและหน่วยงานย่อย ทั่วประเทศ มีผลงานที่เป็นรูปธรรมมากมาย

เหตุการณ์ที่ผ่านมา... KM ช่วยให้เกิดวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น ทัศนคติของผู้ใช้ KM @ เป็นภาระเพิ่ม @ เป็นเรื่องใหม่ @ ทำแยกจาก งานประจำ ขาดทักษะการใช้เครื่องมือ “KM” สื่อสารข้อมูลได้ไม่ทั่วถึง

ความต้องการสนับสนุน ในการใช้เครื่องมือ KM 3. สนับสนุนให้มีเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2. กำหนดมาตรการ วิธีการในการใช้ เครื่องมือ KM เพื่อ ทำงานส่งเสริมฯ 4. พัฒนาและปรับปรุง สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้สนับสนุนงาน

ผลการปฏิบัติงาน KM ที่ได้ดำเนินการให้กับองค์กร 2. องค์กร มีองค์ความรู้ในเนื้องาน เป็นของตนเอง 1. หน่วยงานย่อยใช้องค์ความรู้ (Knowledge) ในการทำงานส่งเสริมการ เกษตร 3. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง จนท.ในหน่วยงานย่อย ผ่านเวทีต่าง ๆ

ข้อสรุป...ที่ค้นพบของการใช้เครื่องมือ KM เพื่อดำเนินงานส่งเสริมฯ เกษตรกร เป็นแหล่งของเทคโนโลยี การเกษตรที่ได้ผล มีองค์ความรู้ที่ไม่หยุดนิ่ง อยู่ในภูมิปัญญาของบุคคล กลุ่ม และชุมชน เกษตรกรเรียนรู้เทคโนโลยีฯ ได้จากผลงานที่เป็นรูปธรรม สื่อการถ่ายทอดความรู้ของเจ้าหน้าที่ อยู่ที่ตัวอย่างเกษตรกรที่ทำอาชีพการเกษตรได้ผล หน่วยงาน หน่วยงานย่อยสร้าง K จากภารกิจงานหลัก ใช้ KM เพื่อพัฒนาคน งาน และองค์กร มีช่องทางและสื่อ เพื่อใช้สื่อสาร แลกเปลี่ยน และเผยแพร่ความรู้เทคโนโลยี องค์กรมีการบันทึก จัดเก็บองค์ความรู้โดยผ่านเครื่องมือ KM

ทางออก... สู่การใช้เครื่องมือ KM ให้ได้ผล ด้านการปฏิบัติงาน มีกิจกรรมให้บุคลากรได้พัฒนาตนเอง มีเวที/ช่องทางให้บุคลากรได้เรียนรู้ มีการจัดองค์ประกอบงานที่ได้ผล จัดเก็บ K ที่ได้ผลและนำไปใช้จริง ด้านการสนับสนุน นโยบายต่อเนื่อง มาตรการและวิธีการทำงาน วัฒนธรรมการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ใช้ KM เพื่อพัฒนาบุคลากร

วิธีการใช้...เครื่องมือ KM ให้ได้ผล

ผลของ KM ในเวที RW1 ปี 2553

นี่แหละ...การจัดการความรู้ฯ สนุกกับ KM ชื่นชมกับ “ผลงาน” สำราญ...กับงานเขียน

The End