ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57
Advertisements

ทฤษฎีใหม่.
รายงานสถานการณ์การผลิตข้าว
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ทะเบียนเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร.
เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ คชก.
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
เศรษฐกิจแบบพอเพียง.
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
จัดทำโดย ด.ช.วริศ วิโรจนวัธน์
เป้าประสงค์ คิดคำนวณกำไร – ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
วาระที่ การจัดทำแผนพัฒนาแหล่งน้ำ
การสำรวจข้อมูลรายได้เกษตรกรที่ยากจน ในชุมชนยากจนปี 2549
การจัดเก็บข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเชิด ชูจิ๋ว
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
สรุปผลการดำเนินงานโครงการ ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
แบ่งออกเป็น 3หมวด คือ 1. ข้อมูลหมวด ก. เป็นข้อมูลส่วนบุคคลของ เกษตรกร ประกอบด้วย ข้อ 1. ลักษณะการประกอบการเกษตร ข้อ 2. สมาชิกในครัวเรือนที่ร่วมกิจกรรม.
การดำเนินงานปรับปรุงข้อมูลทะเบียนเกษตรกร (จำแนกกิจกรรมการเกษตรรายแปลง)
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
สุริชาติ สมวัฒนศักดิ์ นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ ยอดธงไชย รอดแก้ว
ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
สำนักงานเกษตรจังหวัด
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
พืชเศรษฐกิจ อำเภอเต่างอย
โครงการขึ้นทะเบียนการปลูก พืชเศรษฐกิจหลัก 3 ชนิด
งานการปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร และ งานโครงการช่วยเหลือเยียวยา โดย ฝ่ายยุทธศาสตร์และสารสนเทศ สำนักงานเกษตรจังหวัดนครราชสีมา.
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
1 การจัดเก็บและใช้ประโยชน์ข้อมูล โครงการมาตรการแทรกแซงตลาดมัน สำปะหลัง ออมทรัพย์ ไวยากรณ์วิลาศ ผอ. กลุ่มวิเคราะห์และวางระบบข้อมูล ศูนย์สารสนเทศ.
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
งานวิจัยภาควิชาพืชไร่
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
การขึ้นทะเบียนผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจหลัก เพื่อโครงการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55 กรมส่งเสริมการเกษตร.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2553 สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ ณ เดือนสิงหาคม 2553 สำนักงานประมงจังหวัด อุตรดิตถ์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2553 เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตร.
เกษตรทฤษฎีใหม่.
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
การดำเนินงานยุวเกษตรกรอย่างไร ให้ประสบผลสำเร็จ
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
เทคนิคการวิเคราะห์พื้นที่ และเทคโนโลยีการผลิตพืช
เทคนิคการพัฒนาวิจัยเชิงพื้นที่
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
ทิศเหนือติดต่อกับ ตำบลพิตเพียน อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศใต้ติดต่อกับตำบลเจ้าปลุก อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศตะวันออกติดต่อกับอำเภอดอนพุด.
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
กรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าว รอบที่ 1 ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ที่ปลูกเหมือนภาคอื่นๆ.
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลดอนดึง อำเภอ บ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายสุ กัญญา หนุนบุญ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
การจัดการความรู้ (KM) ปี 2558 สำนักงานเกษตรอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.) ระบบรายงาน ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)

ระบบการจัดเก็บข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือนปัจจุบัน กรอบบัญชีรายชื่อพืช ผังการรายงานข้อมูล วิธีสำรวจข้อมูลโดย RRA กรมส่งเสริม การเกษตร นิยามศัพท์

ระบบการจัดเก็บข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน ในปัจจุบัน

1 เปลี่ยนระบบโปรแกรมฯ Offline Online

เปลี่ยนระดับการจัดเก็บ 2 เปลี่ยนระดับการจัดเก็บ (รม.) (รต.) ตำบล หมู่บ้าน 74,779 หน่วยการจัดเก็บ 7,226 หน่วยการจัดเก็บ

เปลี่ยนกรอบการจัดเก็บชนิดพืช (แต่สามารถเลือกกำหนดพืชทางเลือกได้) 3 เปลี่ยนกรอบการจัดเก็บชนิดพืช กรมฯ กำหนดจัดเก็บ เลือกเองทั้งหมด ชนิดพืชบังคับ (แต่สามารถเลือกกำหนดพืชทางเลือกได้)

กรอบบัญชีรายชื่อพืช

กรมฯ กำหนด (พืชเศรษฐกิจ) กรอบบัญชีรายชื่อพืช กรอบพืชบังคับ กรอบพืชทางเลือก กรมฯ กำหนด (พืชเศรษฐกิจ) 252 ชนิดพืช อำเภอต้องจัดเก็บตามบัญชีพืชบังคับ (ตามที่ปลูกจริง) พื้นที่กำหนดเองตามที่ต้องการ จัดเก็บ (ชนิดพืชนอกเหนือจากกรอบพืชบังคับ) จังหวัด อำเภอร่วมพิจารณา

แบบจัดเก็บข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 แบบ ข้าว พืชไร่ พืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ สมุนไพรและเครื่องเทศ (รต. 01) ไม้ผล ไม้ยืนต้น สมุนไพรและเครื่องเทศ (รต. 02) ระดับการจัดเก็บ ระดับตำบล

ผังระบบรายงานข้อมูล ภาวะการผลิตพืช (รต.)

การสำรวจข้อมูล RRA

RRA ? เทคนิคการสำรวจข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบท เป็นการสำรวจข้อมูลที่รวดเร็วและเข้าถึงข้อมูลได้อย่างตรงจุด ใช้ระยะเวลาสั้น ประหยัดงบประมาณ ในการดำเนินการ

สำรวจ RRA แบบกรมส่งเสริมการเกษตร ? การจัดเตรียมกรอบข้อมูลสำหรับการสำรวจจากฐานข้อมูลทะเบียนเกษตร (ทบก 01.) ฐานข้อมูลการขึ้นทะเบียนผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจ (ทพศ.) จัดทำบัญชีรายชื่อเกษตรกรตามกิจกรรมการเพาะปลูกพืชเพื่อวางแผนสอบถาม กำหนดประเด็นในการสอบถามให้ครอบคลุม ตามแบบ รต.01 และ รต.02 สอบถามผู้นำชุมชน / เกษตรกรในพื้นที่ (ไม่เน้นเชิงปริมาณ) สังเกตกิจกรรมการเกษตรของพื้นที่ ระหว่างลงสอบถาม วิเคราะห์ ประมวลผลข้อมูลที่ได้รับมา และบันทึกลงในแบบ รต.01 และ รต.02

แผนผัง RRA การสำรวจข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน บัญชีรายชื่อเกษตรกรตามกิจกรรมการ การเพาะปลูกพืช ฐานข้อมูล ทะเบียนเกษตรกร ฐานข้อมูลการขึ้นทะเบียนพืช เศรษฐกิจที่สำคัญ 3 ชนิด สังเกตกิจกรรมการเกษตร พื้นที่ การเก็บเกี่ยว ประสบภัยธรรมชาติ ฯลฯ (Round Survey) บันทึกในแบบ รต.01/รต.02 สรุป วิเคราะห์ ข้อมูลสังเกต ข้อมูลสอบถาม สอบถามผู้นำชุมชน ในพื้นที่ (ไม่มีแบบสอบถาม)

นิยามศัพท์

เนื้อที่ไว้หน่อ ไว้ตอ ราคาเฉลี่ย = ราคาที่เกษตรขายได้ ณ หน้าฟาร์ม ในช่วงเวลาที่ รายงานข้อมูล โดยคิดราคาที่เกษตรกรขายได้ซ้ำๆ กันมากที่สุด เช่น ในช่วง 1 เดือน งาดำ ต.ทุ่งนา ขายได้ กก. ละ 100 บาท เป็นเวลา 20 วัน และขายได้ราคา 105 บาท เป็นเวลา 10 วัน ราคาเฉลี่ย เท่ากับ 100 บาท (ค่าฐานนิยม) เนื้อที่ไว้หน่อ ไว้ตอ = เนื้อที่ของพืชบางชนิดเมื่อทำการเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้ว เนื้อที่ปลูกดังกล่าวยังคงเหลือ เช่น กล้วย อ้อย สับปะรด ไม้ดอก ไม้ประดับ เป็นต้น

ชนิดพืชที่กำหนดฤดูปลูก = ฤดูฝน เพาะปลูกพืช ตั้งแต่ 1 พ.ค – 31 ต.ค ภาคใต้ ตั้งแต่ 1 ก.ค – 29 ก.พ ยกเว้นจังหวัดชุมพร = ฤดูแล้ง เพาะปลูกพืช ตั้งแต่ 1 พ.ย – 30 เม.ย ภาคใต้ ตั้งแต่ 1 มี.ค – 31 มิ.ย. ยกเว้นจังหวัดชุมพร ชนิดพืชที่กำหนดฤดูปลูก ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถั่วเขียวผิวดำ ถั่วเขียวผิวมัน ถั่วลิสง 6. ถั่วเหลือง 7. ถั่วเหลืองฝักสด 8. ข้าวโพดรับประทานฝักสด 9. ข้าวโพดหวาน

สวัสดี