โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
Advertisements

ประเด็นการตรวจติดตาม
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ คชก.
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
เสริมสร้างความยั่งยืน ทางด้านเศรษฐกิจของจังหวัด เศรษฐกิจจังหวัดขยายตัว
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
การเสริมสร้างขีดความสามารถ ผู้ประกอบการ ปี 2557
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
การถ่ายโอนภารกิจให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
การปฏิบัติตามแนวทางถ่ายโอนภารกิจฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 1
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูป ผลผลิตเกษตร นางลาวัลย์ ฉัตรวิรุฬห์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ นายสมเกียรติ วิจิตรประเสริฐ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร สำนักพัฒนาเกษตรกร สัมมนาเชิงปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการเกษตร.
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
การดำเนินงานวิสาหกิจชุมชนจังหวัดลำพูน
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
กลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาการบริการอารักขาพืช
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
ระบบส่งเสริมการเกษตร
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไม้ผลคุณภาพดี ปีงบประมาณ ๒๕๕๕
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
โครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตกาแฟ
โครงการ ฝึกอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน ปี 51
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
สำนักบูรณาการสาธารณภัย อุบัติภัย และความปลอดภัยทางถนน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สรุปแผน / ผลการปฏิบัติงาน ประจำปี งบประมาณ พ. ศ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพัทลุง ( ฝ่ายบริหารทั่วไป / กลุ่มส่งเสริม สหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 30 เมษายน.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
กลุ่มที่ กลุ่มที่ 9 สองแคว โครงการส่งเสริม สินค้าเกษตรที่ ปลอดภัยและได้ มาตรฐาน ( ข้าว ) วิทยากรประจำกลุ่ม อ. พล ภัทร วารี ผู้ช่วยวิทยากร นาย สมชาย ชะฎาดำ.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี การส่งเสริมพัฒนากลุ่ม อาชีพ ( พื้นฐาน ) เจ้าภาพ กพส. ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ สนับสนุนปัจจัยการผลิต.
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้ สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้ กลุ่มส่งเสริมการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ ส่วนส่งเสริมการผลิตผัก ไม้ดอกไม้ประดับ และพืชสมุนไพร สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร

สถานการณ์ ผลผลิตกล้วยไม้มีคุณภาพไม่สม่ำเสมอ สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร สถานการณ์ ผลผลิตกล้วยไม้มีคุณภาพไม่สม่ำเสมอ ขาดกล้วยไม้พันธุ์ใหม่ๆ ออกสู่ตลาด ครม.เห็นชอบยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทย ในตลาดโลก ปี 2554-2559 กรมส่งเสริมการเกษตรรับผิดชอบกลยุทธ์ด้านการผลิต และพัฒนาองค์กรเกษตรกร

1. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 2. เพิ่มขีดความสามารถด้านการตลาด สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร วัตถุประสงค์ 1. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 2. เพิ่มขีดความสามารถด้านการตลาด 3. ปรับระบบการบริหารจัดการกล้วยไม้

เป้าหมาย ปริมาณงาน : 1,200 ราย พื้นที่เป้าหมาย : กาญจนบุรี ตรัง สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร เป้าหมาย ปริมาณงาน : 1,200 ราย พื้นที่เป้าหมาย : กาญจนบุรี ตรัง จันทบุรี อุบลราชธานี แม่ฮ่องสอน ศูนยฯ พืชสวน จ.กระบี่ ศูนยฯ พืชสวน จ.สมุทรสาคร กรุงเทพฯ นนทบุรี อยุธยา ชลบุรี สมุทรสาคร นครปฐม ราชบุรี

Concept โครงการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร Concept โครงการ ส่งเสริมสวนกล้วยไม้ GAP * ประชุมเชิงปฏิบัติการที่ปรึกษาฯ * จัดทำแปลงต้นแบบ GAP กล้วยไม้ * ศึกษาดูงาน * ให้คำปรึกษาและตรวจประเมินเบื้องต้น ถ่ายทอดองค์ความรู้แก่เกษตรกร *อบรมถ่ายทอดความรู้ ส่งเสริมคลัสเตอร์กล้วยไม้ *สัมมนาหน่วยงานพันธมิตรฯ *ประชุมเชิงปฏิบัติการผู้นำกลุ่มเกษตรกร *อบรมเกษตรกรจัดทำแผนและเชื่อมโยง เครือข่าย เกษตรกรผู้ปลูกเลี้ยงกล้วยไม้/ ผู้ประกอบการ 1,200 ราย ส่งเสริมการพัฒนาพันธุ์กล้วยไม้ * แปลงรวบรวมพ่อแม่พันธุ์กล้วยไม้ * ประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ * จัดทำแปลงต้นแบบการพัฒนาพันธุ์ กล้วยไม้ ส่งเสริมหมู่บ้านกล้วยไม้ *ศึกษาวิเคราะห์ศักยภาพ *พัฒนาแปลงต้นแบบการผลิตกล้วยไม้ *อบรมและดูงาน *จัดเวทีแลกเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้ * ประชุมสัมมนาฯ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เพิ่มขีดความสามารถด้านการตลาด และปรับระบบการบริหารจัดการกล้วยไม้ สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ *ประชุมคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ *ประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กล้วยไม้ *ประชุมที่ปรึกษา คณะทำงาน และประสานงาน *จัดทำเอกสารสรุปผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การแข่งขันกล้วยไม้ไทยในตลาดโลก ปี 2554-2559 >> ส่งออกกล้วยไม้ได้ปีละ 10,000 ล้านบาท

วิธีการดำเนินโครงการ สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร วิธีการดำเนินโครงการ 1. ส่งเสริมสวนกล้วยไม้ GAP (1) ประชุมเชิงปฏิบัติการที่ปรึกษาเพื่อจัดทำคู่มือ การให้คำแนะนำเกษตรกร (ก.) (2) จัดทำแปลงต้นแบบ GAP กล้วยไม้ (จ.) (3) นำเกษตรกรดูงานแปลงต้นแบบการผลิตกล้วยไม้ GAP (จ.) (4) ให้คำปรึกษาและตรวจประเมินเบื้องต้น (จ.)

2. ส่งเสริมคลัสเตอร์กล้วยไม้ สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร 2. ส่งเสริมคลัสเตอร์กล้วยไม้ (1) จัดสัมมนาหน่วยงานพันธมิตรและผู้นำกลุ่มเกษตรกร (ก.) (2) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการผู้นำกลุ่มเกษตรกร เพื่อสรุปบทเรียนคลัสเตอร์ต้นแบบ (จ.) (3) จัดอบรมเกษตรกรหลักสูตรการจัดทำแผนและ เชื่อมโยงเครือข่าย (จ.) CLUSTER

3. ส่งเสริมการพัฒนาพันธุ์กล้วยไม้ สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร 3. ส่งเสริมการพัฒนาพันธุ์กล้วยไม้ (1) แปลงรวบรวมพ่อแม่พันธุ์กล้วยไม้ (ศ.) (2) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้นำเกษตรกร เรื่องการพัฒนาพันธุ์ (ศ.) (3) จัดทำแปลงต้นแบบการพัฒนาพันธุ์กล้วยไม้ (จ.) 4. ถ่ายทอดองค์ความรู้แก่เกษตรกร (1) จัดอบรมหลักสูตรการผลิตการตลาดกล้วยไม้ (ศ.)

5. ส่งเสริมหมู่บ้านกล้วยไม้ สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร 5. ส่งเสริมหมู่บ้านกล้วยไม้ (1) ศึกษาวิเคราะห์ศักยภาพหมู่บ้านกล้วยไม้ที่จะร่วมโครงการ (ก.) (2) พัฒนาแปลงต้นแบบการผลิตกล้วยไม้ (จ.) (3) จัดอบรมและดูงานการผลิตกล้วยไม้ (จ.) (4) จัดเวทีแลกเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้ (จ.) (5) สัมมนาแนวทางบูรณาการร่วมกับหน่วยงานราชการ และองค์กรเอกชน (ก.)

6. สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร 6. สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ (1) ประชุมคณะกรรมการกล้วยไม้แห่งชาติ (2) ประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กล้วยไม้ (3) ประชุมที่ปรึกษา คณะทำงาน และประสานงาน (4) จัดทำเอกสารสรุปผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์

ประเด็นวัดผลโครงการ ประเด็นวัดผล สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ประเด็นวัดผลโครงการ ประเด็นวัดผล 1. สวนกล้วยไม้ GAP : เกษตรกรมีการป้องกันกำจัดโรคและศัตรูกล้วยไม้ที่ถูกต้อง 2. คลัสเตอร์กล้วยไม้ : เกษตรกรมีการเชื่อมโยงเครือข่ายกับภาคธุรกิจอื่น 3. การพัฒนาพันธุ์ : เกษตรกรมีการคัดเลือกพ่อแม่และลูกผสมที่ถูกต้อง 4. หมู่บ้านกล้วยไม้ : เกษตรกรมีความรู้ด้านการปลูกเลี้ยงกล้วยไม้และมีแผนพัฒนาหมู่บ้านกล้วยไม้ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เกษตรกรมีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยใช้เทคโนโลยีที่ถูกต้องและเหมาะสม 2. ประเทศไทยสามารถส่งออกดอกกล้วยไม้มูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 และส่งออก ต้นกล้วยไม้มูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ในปี 2555

ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม กลุ่มส่งเสริมการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ ส่วนส่งเสริมการผลิตผัก ไม้ดอกไม้ประดับ และพืชสมุนไพร สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร โทรศัพท์: 0-2940-6104, 0-2579-1501 โทรสาร: 0-2579-1501 E-mail: agriman52@doae.go.th