การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
Advertisements

การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
การถ่ายโอนภารกิจให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
การปฏิบัติตามแนวทางถ่ายโอนภารกิจฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 1
การจัดเก็บข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน
ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติตามคู่มือสำนักงานคณะกรรมการกระจายอำนาจ ฯ
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่มที่ 3 การทำงานร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
ภารกิจถ่ายโอน บริการข้อมูลและเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลการ ผลิต การตลาด เทคโนโลยี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ระบบส่งเสริมการเกษตร
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
รายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
การดำเนินงานการบริหารศัตรูพืช
สำนักงานเกษตรจังหวัด
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้
ครั้งที่ 1 วันที่ กุมภาพันธ์ 2556
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
ภารกิจการรวมกลุ่มและพัฒนากลุ่ม
การถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
(พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว)
รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการ
บริการตรวจวิเคราะห์ สารพิษตกค้าง เพื่อสนับสนุนความมั่นใจให้แก่ เกษตรกรเมื่อดำเนินการผลิตตาม คำแนะนำของเจ้าหน้าที่แล้ว ผลผลิต ที่ได้จะไม่มีสารพิษตกค้าง.
ผบ. ปภ. ชาติ ( รมว. มท.) หรือ ผอ. กลาง ( อ. ปภ.) ผอ. จังหวัด ( ผว. จว.) แผน ปภ. จว./ แผนปฏิบัติการป้องกัน และแก้ไขปัญหา ภัยแล้ง ก่อนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
นายกรัฐมนตรี กรณีเกิดสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิ่ง (ความรุนแรงระดับ 4)
ข้อเสนอโครงการ ภายใต้กรอบแนวคิดการ พัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุน การตัดสินใจ จัดทำโดย หน่วยงาน หน่วยงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย.
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
วันที่ 22 กรกฎาคม 2553 นายธวัฒน์ชัย ม่วง ทอง ได้ให้เกียรติเป็นประธานเปิดงานโครงการคลินิกพืช ณ สำนักงานเกษตรอำเภอบ้านสร้าง สถานการณ์การทำ การเกษตรในสภาวะปัจจุบัน.
แบบประเมินความเสี่ยงและการควบคุม
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักมาตรการป้องกันสาธารณภัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช ภารกิจที่ 5 การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช

ความสำคัญ การเข้าทำลายของศัตรูพืชที่เกิดขึ้นในแปลงปลูกของเกษตรกร ไม่ใช่ว่าจะเกิดทุกปีหรือทุกครั้งที่มีการปลูกพืช นอกจากนั้นเมื่อศัตรูพืชเข้าทำลายพืชแล้วอาจจะเกิดการระบาดต่อเนื่องรุนแรงหรือไม่ก็ได้ ขึ้นกับสถานการณ์ / สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ณ ขณะนั้น

ดังนั้น การดำเนินการภารกิจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จึงเป็นการสนับสนุนการผลิตของเกษตรกรในพื้นที่ เนื่องจากตามภารกิจกำหนดให้มีการสำรวจสถานการณ์การเข้าทำลาย / การระบาดของศัตรูพืช ทำให้สามารถทราบถึงแนวโน้มการระบาด มีการเตือนภัย และหาวิธีการควบคุมการระบาด และหรือจัดเตรียมปัจจัยในการควบคุมการระบาดได้ ทันเหตุการณ์ และยังมีข้อมูลเพื่อเตรียมการรองรับสถานการณ์ ในฤดูกาลผลิตในปีต่อไปด้วย

ขั้นตอนการดำเนินการตามภารกิจ ประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ 8 ขั้นตอน ดังนี้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการสำรวจการระบาด รัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมดำเนินการพยากรณ์เตือนการระบาด รัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมบริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช รัฐถ่ายทอดความรู้ในการป้องกันกำจัดศัตรูพืชและให้คำแนะนำโดย อปท.ให้คำแนะนำเบื้องต้น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้บริการสารเคมี เครื่องมือในการป้องกันกำจัด

ขั้นตอนการดำเนินการตามภารกิจ ( ต่อ ) รัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรณรงค์ในการควบคุมศัตรูพืชในท้องถิ่นโดยรัฐให้คำแนะนำ ปรึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการจัดการในการควบคุมศัตรูพืช การกำกับ / ควบคุม โดยส่วนกลางของกรมส่งเสริมการเกษตร และการตรวจสอบขั้นต้นโดยสำนักงานเกษตรอำเภอ การตรวจสอบมาตรฐานของเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นต่อเนื่องทุก 4 ปี โดยสำนักงานเกษตรจังหวัดร่วมกับส่วนกลาง

สรุปแสดงขั้นตอนการปฏิบัติในพื้นที่ คัดเลือกและแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ อปท. คัดเลือกและแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ

อปท. สรุปแสดงขั้นตอนการปฏิบัติในพื้นที่ หน่วยงานของรัฐ ศูนย์บริการฯ เกษตรกรแจ้งว่าพืชมีอาการ ผิดปกติ / มีศัตรูพืชเข้าทำลาย อปท. ( ผู้รับผิดชอบ ) ดำเนินการสำรวจ ประสานงานกับเจ้าหน้าที่เพื่อขอวิธีการสำรวจ การจำแนกชนิดศัตรูพืช และวิธีการป้องกันกำจัด 2. ดำเนินการสำรวจ 3. สรุปผล หน่วยงานของรัฐ ศูนย์บริการฯ สนง.กษอ./กษจ. ศูนย์บริหารศัตรูพืช ส่วนกลาง กรมส่งเสริม ฯ

อปท. สรุปแสดงขั้นตอนการปฏิบัติในพื้นที่ หน่วยงานของรัฐ ศูนย์บริการฯ เกษตรกรแจ้งว่าพืชมีอาการ ผิดปกติ / มีศัตรูพืชเข้าทำลาย อปท. ( ผู้รับผิดชอบ ) ดำเนินการสำรวจ รู้จักชนิดของศัตรูที่เข้าทำลาย ไม่รู้จักชนิดของศัตรูที่เข้าทำลาย เก็บตัวอย่างส่งศูนย์บริการ ออกสำรวจ / วินิจฉัย / ให้คำแนะนำ หน่วยงานของรัฐ ศูนย์บริการฯ สนง.กษอ./กษจ. ศูนย์บริหารศัตรูพืช ส่วนกลาง กรมส่งเสริม ฯ

อปท. สรุปแสดงขั้นตอนการปฏิบัติในพื้นที่ หน่วยงานของรัฐ ศูนย์บริการฯ เกษตรกรแจ้งว่าพืชมีอาการ ผิดปกติ / มีศัตรูพืชเข้าทำลาย อปท. ( ผู้รับผิดชอบ ) ดำเนินการสำรวจ ทราบชนิดศัตรู /สถานการณ์ การระบาด และวิธีการควบคุม ประกาศเตือนการระบาด + จัดเตรียมปัจจัยควบคุม + ให้ความช่วยเหลือ/ควบคุมการระบาด หน่วยงานของรัฐ ศูนย์บริการฯ สนง.กษอ./กษจ. ศูนย์บริหารศัตรูพืช ส่วนกลาง กรมส่งเสริม ฯ

อปท. สรุปแสดงขั้นตอนการปฏิบัติในพื้นที่ หน่วยงานของรัฐ ศูนย์บริการฯ เกษตรกรแจ้งว่าพืชมีอาการ ผิดปกติ / มีศัตรูพืชเข้าทำลาย อปท. ( ผู้รับผิดชอบ ) ดำเนินการสำรวจ ประกาศเตือนการระบาด + จัดเตรียมปัจจัยควบคุม + ให้ความช่วยเหลือ/ควบคุมการระบาด ในกรณีที่แนวโน้ม การระบาดในปีต่อไป วางแผนการควบคุมปริมาณโดยจัดให้มีแปลงสำรวจสถานการณ์ศัตรูพืช หน่วยงานของรัฐ ศูนย์บริการฯ สนง.กษอ./กษจ. ศูนย์บริหารศัตรูพืช ส่วนกลาง กรมส่งเสริม ฯ

อปท. สรุปแสดงขั้นตอนการปฏิบัติในพื้นที่ หน่วยงานของรัฐ ศูนย์บริการฯ เกษตรกรแจ้งว่าพืชมีอาการ ผิดปกติ / มีศัตรูพืชเข้าทำลาย อปท. ( ผู้รับผิดชอบ ) ดำเนินการสำรวจ ประกาศเตือนการระบาด + จัดเตรียมปัจจัยควบคุม + ให้ความช่วยเหลือ/ควบคุมการระบาด วางแผนการควบคุมปริมาณโดยจัดให้มีแปลงสำรวจสถานการณ์ศัตรูพืช กำกับ/ควบคุม /กำหนดมาตรฐาน ตรวจสอบความสามารถในการสำรวจศัตรูพืชของ อปท. หน่วยงานของรัฐ ศูนย์บริการฯ สนง.กษอ./กษจ. ศูนย์บริหารศัตรูพืช ส่วนกลาง กรมส่งเสริม ฯ