วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
Advertisements

บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔
**************************************************
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
พลตรี นพดล พิศวง รองผอ.รมน.สระบุรี
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การส่งเสริมการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ชาติ สังคมศึกษา
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
โครงการกลุ่มจังหวัด ๕๕ มิติภาคการเกษตร
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
ผู้เข้าร่วมสัมมนา รวม ๒๐๕ คน
ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนาท
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
การประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศ กับการบริหารศัตรูพืช
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
การดำเนินงานการบริหารศัตรูพืช
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดกระบี่ (พืชสวน)
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ครั้งที่ 1 วันที่ กุมภาพันธ์ 2556
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)
โครงการบริหารการจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร.
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ฝึกอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน ปี 51
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
แผน-ผลการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ ๒๕๕๓ สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๓ เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เขต ๑๗ นายทฤษดี ชาวสวนเจริญ ณ.
ด้านการดำเนินงานการตั้งครรภ์หญิง วัยรุ่น o ๑. มาตรการด้านบริหารจัดการ การประชุมพิจารณา กรอบแนวทางการประเมินผลตามตัวชี้วัด และ มาตรฐานการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญ.
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
แผนการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เขต ๑๗ (นายทฤษดี ชาวสวนเจริญ) ณ วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน.
แผนการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ ๒๕๕๓ สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เขต ๑๗ (นายทฤษดี ชาวสวนเจริญ) ณ วันที่ ๑๒ พฤศจิกายน.
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลดอนดึง อำเภอ บ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายสุ กัญญา หนุนบุญ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
1. สัมมนาวางแผนปฏิบัติงานโครงการ และชี้แจงระเบียบการเงิน การบัญชี ตามระเบียบเงินรายได้ จากการรับจ้างผลิต และ จำหน่ายปัจจัยการเกษตรของศูนย์ ปฏิบัติการ.
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการบริหารจัดการศัตรูพืชและ การเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร ปี ๒๕๕๔

วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน

เกษตรกรเป้าหมายจำนวน ๓๓,๔๘๐ ราย แปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช ๑,๑๑๖ แปลง เป้าหมาย ดำเนินการใน ๗๓ จังหวัด ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน ๑,๑๑๖ ศูนย์ ประกอบด้วย -ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนโครงการบริหารความเสี่ยงเดิม ๓๕๘ ศูนย์ -ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนโครงการการจัดการเพลี้ยแป้งฯ๕๗๒ ศูนย์ -ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนจัดตั้งใหม่ ๑๘๖ ศูนย์ เกษตรกรเป้าหมายจำนวน ๓๓,๔๘๐ ราย แปลงติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช ๑,๑๑๖ แปลง

กิจกรรม ก่อนเกิดภัย (เตรียมความพร้อม สำรวจและติดตาม การเฝ้า ระวังศัตรูพืชและเตือนการระบาด) ระหว่างเกิดภัย (การจัดการศัตรูพืช) หลังเกิดภัย (การให้ความช่วยเหลือ)

กิจกรรม ๒๕๕๔ ๑ ก่อนการเกิดภัย ( การเฝ้าระวังศัตรูพืชและเตือนภัยศัตรูพืช) สร้างความเข้มแข็งในการจัดการศัตรูพืช โดยการอบรมเจ้าหน้าที่ ๒ หลักสูตร การจัดตั้งศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนใน ๗๓ จังหวัด จำนวน ๑๘๖ ศูนย์ (ศูนย์ใหม่) พัฒนาความรู้สมาชิก ๑๘๖ ศูนย์ x ๓๐ ราย = ๕,๕๘๐ ราย สนับสนุนงบประมาณผลิตขยายศัตรูธรรมชาติ ศูนย์ละ ๑๖,๐๐๐ บาท ตั้งแปลงสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช ๑๘๖ แปลงๆละ ๔,๐๐๐ บาท สนับสนุนหัวเชื้อจุลินทรีย์ และ พ่อ-แม่พันธุ์ศัตรูธรรมชาติ การผลิตต้นพันธุ์มันสำปะหลัง(ส่วนพัฒนาการเพาะเลี้ยงและจัดการพันธุ์พืช)

การผลิตต้นพันธุ์มันสำปะหลัง ผลิตต้นพันธุ์โดยการเพาะเลี้ยงเนื่อเยื่อ จำนวน ๑๕๐,๐๐๐ ต้น(กลุ่มงานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ) ผลิตต้นพันธุ์โดยการปักชำ ๘๕๐,๐๐๐ ต้น(ศูนย์พันธุ์พืชเพาะเลี้ยง) ทำแปลงแม่พันธุ์ แปลงพันธุ์หลัก /แปลงพันธุ์ขยาย

๒. ระหว่างเกิดภัย (การจัดการศัตรูพืช) กิจกรรม ๒๕๕๔ ๒. ระหว่างเกิดภัย (การจัดการศัตรูพืช) - สนับสนุนเชื้อจุลินทรีย์และศัตรูธรรมชาติ (ส่วนกลาง และ ศบพ)  เชื้อจุลินทรีย์ ๑๐๐,๐๐๐ กิโลกรัม  ศัตรูธรรมชาติ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ ตัว - การติดตามสถานการณ์การระบาดศัตรูพืช โดย ศูนย์บริหารศัตรูพืช

๓. หลังการเกิดภัย (การให้ความช่วยเหลือ) กิจกรรม ๒๕๕๔ ๓. หลังการเกิดภัย (การให้ความช่วยเหลือ)  พัฒนาศักยภาพศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนโครงการบริหารความเสี่ยง (เดิม) พัฒนาความรู้สมาชิก ๓๕๘ ศูนย์ x ๓๐ ราย = ๑๐,๗๔๐ ราย สนับสนุนงบประมาณผลิตขยายศัตรูธรรมชาติ ระดับ A ๕,๐๐๐ บาท ระดับ B ๔,๐๐๐ บาท ระดับ C ๓,๐๐๐ บาท + ศึกษาดูงานศูนย์ละ ๖,๐๐๐ บาท ตั้งแปลงสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช ๓๕๘ แปลง

๓. หลังการเกิดภัย (การให้ความช่วยเหลือ) (ต่อ) กิจกรรม ๒๕๕๔ ๓. หลังการเกิดภัย (การให้ความช่วยเหลือ) (ต่อ) พัฒนาศักยภาพศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนโครงการการจัดการเพลี้ยแป้งฯ พัฒนาความรู้สมาชิก ๕๗๒ ศูนย์ x ๓๐ ราย = ๑๗,๑๖๐ ราย สนับสนุนงบประมาณผลิตขยายศัตรูธรรมชาติ ศูนย์ละ ๔,๐๐๐ บาท ตั้งแปลงสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช ๕๗๒ แปลง

ภารกิจ ส่วนบริหารศัตรูพืช ผลิตหัวเชื้อบริสุทธิ์สนับสนุน ศบพ. ผลิตพ่อ – แม่พันธุ์ ตัวห้ำ - ตัวเบียน ผลิตเชื้อจุลินทรีย์ / ตัวห้ำ- ตัวเบียน สนับสนุน การดำเนินงานตามตัวชี้วัดของกรมฯ สนับสนุนวิชาการอื่นๆ

ภารกิจจังหวัด /อำเภอ ตั้งศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนใหม่ ถ่ายทอดความรู้ด้านการจัดการศัตรูพืชให้เกษตรกรในศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนในพื้นที่ สนับสนุนวัสดุในการเรียนรู้ เป็นวิทยากรพี่เลี้ยงให้เกษตรกรตลอดฤดูการเพาะปลูก

ภารกิจ/ ศูนย์บริหารศัตรูพืช - ผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ขยายให้ศจช.ในพื้นที่จังหวัดที่รับผิดชอบ - ผลิตเชื้อจุลินทรีย์ / ตัวห้ำ- ตัวเบียน สนับสนุนพื้นที่ที่ดำเนินการ - ติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช - จัดทำข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช

การรายงาน ขออนุมัติใช้เงินในระบบ e – project การรายงานผลการใช้จ่ายเงิน-รายงานผลการปฏิบัติงาน