การจัดการองค์ความรู้ (KM) การทำนาข้าวโดยไม่เผาตอซัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
Advertisements

อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
การศึกษารูปแบบการจัดการฟางข้าวฯ รหัสโครงการวิจัย
ดำเนินการโดย สำนักงานเกษตรอำเภอวังม่วง อำเภอวังม่วง จังหวัด สระบุรี
โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวและสร้างความเข้มแข็งให้ชาวนา เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าอาเซียน (AFTA) ประสานงานกับกรมการข้าว และสำนักงานเกษตรจังหวัด.
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
ปุ๋ยชีวภาพ Organicfertilizer
การทำน้ำหมักสมุนไพรขับไล่แมลงในสวนผัก
โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวปลอดภัย
โครงการ ส่งเสริมการผลิตข้าว ที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิเชียร อารยะสมสกุล
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายสมบัติ เซี่ยงว่อง
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
วัชพืชที่สำคัญในนาข้าว และการป้องกันกำจัด
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
************************************************
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
การจัดการองค์ความรู้ เรื่องการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน สถานที่ดำเนินการ บ้านวังบง หมู่ที่ 10 ตำบลนาด้วง อำเภอนาด้วง.
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพในบ่อเลี้ยงปลาดุก
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
แผนปฏิบัติงาน 5 ปี (2553 – 2557) นิคมการเกษตรข้าวหอมมะลิ
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
การส่งเสริมลดต้นทุนการผลิตข้าว อำเภอหนองหญ้าไซ จังหวัดสุพรรณบุรี
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
1.ด.ญ.ธนากร อยู่คง 3.ด.ช.วธัญญู อู่นาท 4.ด.ญ.วราภรณ์ เมืองแก้ว
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
การดำเนินงานยุวเกษตรกรอย่างไร ให้ประสบผลสำเร็จ
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
องค์ความรู้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์การทอเสื่อกก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มทอเสื่อกกบ้านนาหมอม้า ผู้ให้องค์ความรู้ นางนิ่ม นวลขาว ที่อยู่ 961 หมู่ 7.
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลบางพระเหนือ อำเภอละอุ่น จังหวัดระนอง ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย เลี่ยน อุ่นสุข เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายบุญสวย เชื้อสะอาด
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
โดย ครูติดแผ่นดินชา เชียงราย
การจัดการความรู้ (KM) ปี 2558 สำนักงานเกษตรอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการองค์ความรู้ (KM) การทำนาข้าวโดยไม่เผาตอซัง สำนักงานเกษตรอำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี

คณะทำงาน คุณอำนวย นางสุภาพร บุญประเสริฐ เกษตรอำเภอโพธาราม นางสุภาพร บุญประเสริฐ เกษตรอำเภอโพธาราม นายประชิน สังขานวม นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว นายสิงห์ สวัสดี นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว คุณลิขิต นายเสรี มุ่งเมือง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว นายไตรภูมิ หนูเอียด นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร คุณกิจ นายชวลิต กลิ่นเกษร เจ้าพนักงานการเกษตร 6 นายปัญญา ลูกรักษ์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว นางจิตรา ลี้เลอเกียรติ เจ้าพนักงานการเกษตร 6

คณะทำงาน คุณเล่า นายลับ ตุ้มทับ เกษตรกรตำบลชำแระ นายลับ ตุ้มทับ เกษตรกรตำบลชำแระ นายจำลอง ทองรุ่ง เกษตรกรตำบลนางแก้ว นายสมนึก พระไทรโยค เกษตรกรตำบลท่าชุมพล นายอบเชย ศรีวงศ์ราช เกษตรกรตำบลท่าชุมพล นายอนงค์ เนียมขันธ์ เกษตรกรตำบลนางแก้ว นายสนิท ร่มโพรีย์ เกษตรกรตำบลนางแก้ว

คณะทำงาน คุณเอื้อ นายโชคดี ตั้งจิตร นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว นายโชคดี ตั้งจิตร นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว นายนพดล สร้อยน้ำ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว นายปริญญา ขำเจริญ เจ้าพนักงานการเกษตร 6 นายวิจิตร กณะโกมล นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6ว นายวิวัฒน์ ภู่พร้อม นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 4

การเตรียมดิน การไถแห้ง หลังเก็บเกี่ยวข้าว ไถกลบตอซังและฟางข้าว ตากแดดทิ้งไว้ประมาณ 1 เดือน

การเตรียมดิน การใช้สารย่อยสลาย - ปล่อยน้ำเข้านา - ฉีดน้ำหมักย่อยสลาย 1. สูตรน้ำหมักหน่อกล้วย 2. สูตรน้ำหมักชีวภาพ

การเตรียมดิน สูตรน้ำหมักหน่อกล้วย (หัวเชื้อ) วัสดุ - หน่อกล้วยอ่อนสูง 1 เมตร 3 ก.ก. - กากน้ำตาล 1 ก.ก. วิธีทำ - นำหน่อกล้วยสับละเอียดเคล้ากากน้ำตาล หมักทิ้งไว้ในถังพลาสติกนาน 7 วัน คั้นน้ำนำมาใช้ฉีดสลายฟางข้าว 5 ลิตร/ไร่ หากปล่อยเข้านาตามน้ำ ใช้ 10 ลิตร/ไร่ - หากต้องการนำมาขยายหัวเชื้อ หัวเชื้อ : กากน้ำตาล : น้ำ : หยวกกล้วยแก่ 1 : 5 : 100 : 20

การเตรียมดิน สูตรน้ำหมักชีวภาพ วัสดุ ปลาหรือหอยเชอรี่ : ผลไม้ : กากน้ำตาล : น้ำ / หัวเชื้อ พด.2 = 30 : 10 : 10 : 10 / หัวเชื้อ 1 ซอง วิธีทำ ละลายสารเร่ง พด.2 กับน้ำ 10 ลิตร ผสมเศษวัสดุและกากน้ำตาลลงในถังหมัก เทสารละลาย พด.2 คลุกเคล้าให้เข้ากัน หมักทิ้งไว้ 21 วัน อัตราการใช้ ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพฉีดสลายฟางข้าว 5 ลิตร/ไร่ หากปล่อยเข้านาตามน้ำ ใช้ 10 ลิตร/ไร่

การเตรียมดิน การไถกลบ , ทำเทือก หลังจากฉีดน้ำหมักชีวภาพ 7 – 10 วัน จึงไถกลบแล้วทำเทือก

ประโยชน์ที่ได้รับโดยการไม่เผาตอซัง ง่ายต่อการเตรียมดิน ดินไม่สูญเสียธาตุอาหาร ดินมีอินทรียวัตถุเพิ่มขึ้น ลดต้นทุนการผลิต - ลดการใช้ปุ๋ยเคมี - ลดการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าว - ลดการใช้สารเคมี อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ประโยชน์ที่ได้รับโดยการไม่เผาตอซัง อนุรักษ์ศัตรูธรรมชาติ ผลผลิตข้าวเพิ่มขึ้น

การจัดรณรงค์ลดการเผาตอซัง การจัดงานรณรงค์ยุติการเผาและส่งเสริมการไถลกลบตอซัง อำเภอโพธาราม ได้ดำเนินงานร่วมกับสำนักงานพัฒนาที่ดินจังหวัดราชบุรี ในพื้นที่ตำบลท่าชุมพล ตำบลธรรมเสน ตำบลชำแระ และตำบลนางแก้ว เพื่อเป็นตำบลต้นแบบนำร่องและขยายผลออกไปในตำบลอื่นๆ

ขอบคุณครับ สำนักงานเกษตรอำเภอโพธาราม