การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
ห้องปฏิบัติการต่างๆ.
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
Formulation of herbicides Surfactants
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
วงจรสี.
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
จับประเด็นเตรียมพร้อมสู่HA
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
Evaluation of pesticides interaction Herbicide-herbicide interaction
การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
การจำแนกชนิดผลิตภัณฑ์สุขภาพ
การล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
เทคนิคการพ่นสารเคมี สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5.
ทางเลือกในการควบคุมยุงพาหะนำโรค
เทคนิคการพ่นสารเคมี โดย ดอกรัก ฤทธิ์จีน
โครงการพัฒนามาตรฐานการจัดทำฉลากเคมีภัณฑ์
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
v v v v อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะและการปั๊มโลหะ
ผลิตเป็นเม็ดพลาสติกสี
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
สารเคมีแช่ท่อนพันธุ์
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
อาหารเพื่อผิวสวย โดย ฉัตรฤทัย บัวสุข
ข้อควรระวัง ! ในการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสด
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ความเสี่ยงอันตรายจาก
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
ACID-BASE เราไปกันเลย Jutimat Rattanapan.
Globally Harmonized System : GHS
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับร้านอาหาร
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
วิชา งานสีรถยนต์.
Major General Environmental Problems
ทางนำไปสู่การมีสุขภาพดี
มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับโรงอาหาร
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
การเจริญเติบโตของพืช
อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
การจัดบริการดูแลสุขภาพเชิงรุกแก่เกษตรกร
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหน่ายอาหาร
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม ประภาวดี บรรดาศักดิ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ

สารเคมีกำจัดศัตรูพืช คือ อะไร………………. สารหรือส่วนประกอบของสารที่ได้จากการ สังเคราะห์ขึ้นหรือจากธรรมชาติ มีประสิทธิภาพใน การป้องกัน ควบคุม และทำลายศัตรูพืช (แมลง และวัชพืช) ศัตรูสัตว์ (เชื้อโรค แมลง และสัตว์ ที่เป็นพาหะนำโรค เช่น หนู แมลงสาบ เป็นต้น)

ความเป็นอันตราย เป็นพิษ ทำให้บาดเจ็บ หรือ ตายเมื่อเข้าสู่ร่างกาย เป็นพิษ ทำให้บาดเจ็บ หรือ ตายเมื่อเข้าสู่ร่างกาย ไวไฟ ติดไฟได้ง่าย เมื่อถูกประกายไฟ หรือ เมื่อได้รับ ความร้อนสูง กัดกร่อน ทำให้เนื้อเยื่อบริเวณที่สัมผัสสารนั้น ถูกทำลาย หรือ ไม่สามารถกลับคืนสู่สภาพปกติดังเดิมได้ ระคายเคือง ทำให้ ผิวหนัง นัยน์ตา เนื้อเยื่อ และ ระบบ ทางเดินหายใจ เกิดอาการระคายเคือง หรือ อักเสบ หน้า 30 3

ระดับความเป็นพิษของสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ระดับหนึ่ง เอ (Class 1a) ที่มีความเป็นพิษร้ายแรงยิ่ง (สีแดง) ระดับหนึ่ง บี (Class 1b) ที่มีความเป็นพิษร้ายแรง (สีแดง) ระดับสอง (Class 11) ที่มีความเป็นพิษปานกลาง (สีเหลือง) ระดับสาม (Class 111) ที่มีความเป็นพิษเล็กน้อย (สีน้ำเงิน) ระดับสี่ (Class 1V) ที่มีความเป็นพิษน้อยมาก

ทำความสะอาดมือ ร่างกายและเสื้อผ้ารวมทั้งอุปกรณ์ป้องกันทันทีหลังทำงานสัมผัสกับสารเคมี 6

ตัวอย่างฉลาก สารเคมีที่มีพิษร้ายแรงมาก (1 เอ) ตัวอย่างฉลาก สารเคมีที่มีพิษร้ายแรงมาก (1 เอ)

ตัวอย่างสารเคมีที่มีพิษระดับต้องระวัง (ชั้น 3)

สารพิษ : สารเคมีกำจัดศัตรูพืช/วัตถุมีพิษทางการเกษตร /วัตถุอันตรายทางการเกษตร(Pesticides) 5 กลุ่มหลัก สารกำจัดแมลง (Insecticides) สารกำจัดวัชพืช (Herbicides) สารกำจัดหนูและสัตว์ฟันแทะ (Rodenticides) สารกำจัดเชื้อรา (Fungicides) สารรมควัน (Fumigant) 9

ความรู้ในการใช้สารเคมี ของเกษตรกร

อุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช

ทำความสะอาดมือ ร่างกายและเสื้อผ้ารวมทั้งอุปกรณ์ป้องกันทันทีหลังทำงานสัมผัสกับสารเคมี

ทำความสะอาดมือ ร่างกายและเสื้อผ้ารวมทั้งอุปกรณ์ป้องกันทันทีหลังทำงานสัมผัสกับสารเคมี

ทำความสะอาดมือ ร่างกายและเสื้อผ้ารวมทั้งอุปกรณ์ป้องกันทันทีหลังทำงานสัมผัสกับสารเคมี

ทำความสะอาดมือ ร่างกายและเสื้อผ้ารวมทั้งอุปกรณ์ป้องกันทันทีหลังทำงานสัมผัสกับสารเคมี

ทำความสะอาดมือ ร่างกายและเสื้อผ้ารวมทั้งอุปกรณ์ป้องกันทันทีหลังทำงานสัมผัสกับสารเคมี

การจัดเก็บ สารเคมีกำจัดศัตรูพืช

มีการจัดเก็บสารเคมีอันตรายต่าง ๆ อย่างถูกต้องและปลอดภัย

ทำการเลือกใช้สารเคมีที่ปลอดภัยและควรใช้เท่าที่จำเป็น จะเป็นวิธีการช่วยป้องกันอันตรายจากสารเคมี ศึกษาจากฉลากหรือผู้เชี่ยวชาญก่อนนำไปใช้

การผสมและ การแบ่งบรรจุ สารเคมีกำจัดศัตรูพืช

ทำการศึกษาวิธีการใช้สารเคมีจากฉลากหรือเอกสารต่าง ๆ ที่ติดมากับสารเคมีอย่างรอบคอบ

ทำความสะอาดมือ ร่างกายและเสื้อผ้ารวมทั้งอุปกรณ์ป้องกันทันทีหลังทำงานสัมผัสกับสารเคมี

การฉีดพ่น สารเคมีกำจัดศัตรูพืช

ทำความสะอาดมือ ร่างกายและเสื้อผ้ารวมทั้งอุปกรณ์ป้องกันทันทีหลังทำงานสัมผัสกับสารเคมี

ทำความสะอาดมือ ร่างกายและเสื้อผ้ารวมทั้งอุปกรณ์ป้องกันทันทีหลังทำงานสัมผัสกับสารเคมี

ทำความสะอาดมือ ร่างกายและเสื้อผ้ารวมทั้งอุปกรณ์ป้องกันทันทีหลังทำงานสัมผัสกับสารเคมี

การจัดการกับ สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ที่หกรด

ทำความสะอาดมือ ร่างกายและเสื้อผ้ารวมทั้งอุปกรณ์ป้องกันทันทีหลังทำงานสัมผัสกับสารเคมี

การทำลายหรือกำจัดภาชนะบรรจุสารเคมีกำจัดศัตรูพืช

ทำความสะอาดมือ ร่างกายและเสื้อผ้ารวมทั้งอุปกรณ์ป้องกันทันทีหลังทำงานสัมผัสกับสารเคมี

สิ่งที่เกษตรกรควรตระหนัก

จัดให้มีการอบรมจากผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันอันตรายต่าง ๆ

สารเคมีกำจัดศัตรูพืชทุกชนิด มีอันตรายต่อสุขภาพของ เกษตรกร ครอบครัว ชุมชน ระบบนิเวศน์ สิ่งแวดล้อม

การตรวจหาระดับ เอนไซม์โคลีนเอสเตอเรส

แสดงสีของกระดาษแต่ละชนิด แผ่นเทียบสีมาตรฐานสำหรับแปลผลโคลีนเอสเตอเรส ของกระดาษทดสอบ “REACTIVE PAPER” แสดงสีของกระดาษแต่ละชนิด ไม่ปลอดภัย มีความเสี่ยง ปลอดภัย ปกติ

การแปลผลการตรวจหาโคลีนเอสเตอเรส ปกติ ระดับโคลีนเอสเตอเรส มากกว่า หรือเท่ากับ 100 หน่วยต่อมิลลิลิตร ปลอดภัย ระดับโคลีนเอสเตอเรส มากกว่า หรือเท่ากับ 87.5 มีความเสี่ยง ระดับโคลีนเอสเตอเรส มากกว่า หรือเท่ากับ 75.0 ไม่ปลอดภัย ระดับโคลีนเอสเตอเรส ต่ำกว่า 75.0

เกษตรกรควรหันมาพิจารณา การควบคุม กำจัดศัตรูพืช ด้วยวิธีการไม่ใช้สารเคมี

หากไม่สามารถหลีกเลี่ยง การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้ ควรใช้ให้น้อยลงหรือใช้ร่วมกับวิธีอื่นและต้องใช้อย่างถูกวิธี

การใช้สารเคมีอย่างปลอดภัยโดย ตรวจสอบดูรายละเอียด/ประเภทของสารเคมี ใช้สารเคมีในสภาพที่ปลอดภัย - เวลา - ทิศทางลม - แสงแดด - ความสูง-ต่ำของหัวฉีด 3. สวมถุงมือยางขณะทำงานกับสารเคมีทุกครั้ง 4. ล้างมือทุกครั้งหลังหยิบจับสารเคมี 5. อาบน้ำทันทีและเปลี่ยนเสื้อผ้าหลังการฉีดพ่น

ข้อพิจารณาเพื่อความปลอดภัย ตรวจสอบดูรายละเอียด/ประเภทของสารเคมี ใช้สารเคมีในสภาพที่ปลอดภัย - เวลา - ทิศทางลม - แสงแดด - ความสูง-ต่ำของหัวฉีด 40

อันตรายของการใช้สารเคมี ของเกษตรกร อันตราย = ความเป็นพิษ x การใช้

สวัสดี...ค่ะ