การวิเคราะห์หาพื้นที่เสี่ยงต่อโรคเลปโตสไปโรซีส ในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ นายวัชรพงษ์ แสงนิล วิทยาลัยแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข
ความเป็นมา วัตถุประสงค์ จังหวัดศรีสะเกษ -พ.ศ. 2547 พบผู้ป่วยจำนวน 148 ราย อัตราป่วยร้อยละ 10.19 เสียชีวิต 8 ราย -พ.ศ. 2548 พบผู้ป่วยจำนวน 240 ราย อัตราป่วยร้อยละ 16.64 เสียชีวิต 2 ราย -พ.ศ. 2549 พบผู้ป่วยจำนวน 155 ราย อัตราป่วยร้อยละ 10.73 เสียชีวิต 1 ราย วัตถุประสงค์ - เพื่อหาพื้นที่เสี่ยงต่อโรคเลปโตสไปโรซีส ในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ
-จำนวนผู้ป่วย
ระยะเวลาการดำเนินงาน กิจกรรม ช่วงเวลา (เดือน) ผลลัพธ์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 1. ทบทวนวรรณกรรม 2. รวบรวมข้อมูลพื้นฐาน 3. ปรับแก้ข้อมูลพื้นฐาน 4. เชื่อมโยงข้อมูล 5.กำหนดค่าน้ำหนักคะแนน 6. ซ้อนทับข้อมูล 7. อภิปรายผลข้อมูล 8. รูปเล่มรายงาน -ได้ข้อมูลผู้ป่วย -ฐานข้อมูล GIS -เชื่อมโยงข้อมูล -วิเคราะห์ข้อมูล -รูปเล่มรายงาน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1 ทราบพื้นที่เสี่ยงต่อโรคเลปโตสไปโรซีส ในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ 2 หน่วยงานภาครัฐและเอกชนได้ข้อมูลในการสนับสนุนการ ตัดสินใจในการแก้ไขปัญหาโรคเลปโตสไปโรซีสของชุมชน 3 เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการป้องกันและควบคุมโรคเลปโตส ไปโรซีสในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ 4 สามารถนำผลการศึกษาพัฒนาเป็นงานวิจัยต่อไปได้
The End