The 10th National Health Plan 6 September 2007 นพ. ศุภกิจ ศิริลักษณ์ พบ., อว., MPHM. ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ konc62@yahoo.com
แผนพัฒนาการสาธารณสุขแห่งชาติ Dr.Supakit Sirilak
แผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2504-2509) 1. สนับสนุนแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ 2. ปรับปรุง/ขยายสถานีอนามัย/รพ. เน้นเมือง 3. ควบคุมโรคติดต่อ/ส่งเสริมการสุขาภิบาล 4. อบรมบุคลากรสาธารณสุข Dr.Supakit Sirilak แผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2510-2514) 1. สนับสนุนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติที่เพิ่มด้านการพัฒนาสังคม 2. ปรับปรุง/ขยายสถานีอนามัย/รพ. เน้น ส่วนภูมิภาคเพิ่มขึ้น เพิ่มแพทย์ และบุคลากรสาธารณสุข
แผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2520-2524) แผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2515-2519) 1. ขยายการพัฒนาสถานบริการ บุคลากร ภาครัฐและเอกชน ตั้งหน่วยงานวางแผน 2. เน้นอนามัยแม่และเด็ก นโยบายประชากร การวางแผนครอบครัว การควบคุมโรค 3. มีนโยบายการให้บริการรักษาพยาบาลฟรี แก่ผู้มีรายได้น้อย Dr.Supakit Sirilak แผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2520-2524) 1. เน้นการขยายโครงสร้างพื้นฐาน บุคลากรชนบท 2. ขยายงานอนามัยแม่และเด็ก การวางแผน ครอบครัว โภชนาการ การควบคุมป้องกันโรค 3. ตั้งเป้าหมาย HFA 2543 โดยใช้กลยุทธ์ PHC 3. สนับสนุนการจัดตั้ง รพ. เอกชน 4. กระจายอำนาจไปส่วนภูมิภาค
แผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2525-2529) 1. เน้นการสาธารณสุขมูลฐาน เน้นสุขภาพดีถ้วนหน้า 2. เน้นการประสานงานกับกระทรวงหลัก 3. สนับสนุนการจัดตั้ง ร.พ.ชุมชน สถานีอนามัย 4. จัดทำบัญชียาหลัก ตั้งกองทุนยาหมู่บ้าน 5. เริ่มมีการสำรวจความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) Dr.Supakit Sirilak แผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2530-2534) 1. เน้นคุณภาพชีวิต และสุขภาพดีถ้วนหน้า 2. สนับสนุนการวิจัยและพัฒนา 3. ประสานภาครัฐ-เอกชน เริ่มบัตรสุขภาพ 4. เริ่มการปรับโครงสร้างในปลายแผน
แผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2535-2539) เน้นการปรับปรุงคุณภาพ ประสิทธิภาพการบริการและบริหาร สาธารณสุข 2. สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน 3. พัฒนาการบริการตามระบบประกันสุขภาพ 4. การปรับโครงสร้าง เพิ่ม สำนักนโยบาย สถาบันสุขภาพจิต สถาบัน พัฒนากำลังคน สถาบันวิจัย ระบบสาธารณสุข ตั้งศูนย์บริการ คอมพิวเตอร์ Dr.Supakit Sirilak แผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544) 1. เน้นคนเป็นศูนย์กลาง 2. พัฒนาคุณภาพการบริการ 3. การเตรียมการรองรับการกระจายอำนาจ การปฏิรูประบบราชการ การปฏิรูประบบสุขภาพ
(พ.ศ.2545-2549) แผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 9 1. เริ่มการวางแผนเชิงกลยุทธ์เพื่อปรับปรุง ประสิทธิภาพการบริหารสาธารณสุข 2. สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพของ ประชาชน องค์กรท้องถิ่นด้านสุขภาพ 3. เน้นการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและ พัฒนาคุณภาพบริการ 4. เร่งสร้างสุขภาพเชิงรุก Dr.Supakit Sirilak
บริบทใหม่ สุขภาวะ กระแสโลกาภิวัฒน์ ทุนนิยมโลก การค้าเสรี Dr.Supakit Sirilak กระแสโลกาภิวัฒน์ ทุนนิยมโลก การค้าเสรี กระแสทุนนิยม บริโภคนิยม ระบาดวิทยา ความรุนแรง บริบทใหม่ สุขภาวะ วิกฤตสถาบันทางสังคม วิบัติภัยจาก ธรรมชาติ วิกฤตธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม การระบาดโรคอุบัติใหม่ โครงสร้างประชากร และ การเคลื่อนย้าย การเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการบริหารของภาครัฐ
วิสัยทัศน์ สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Dr.Supakit Sirilak วิสัยทัศน์ สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน (Green and Happiness Society) ภายใต้แนวปฏิบัติ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ระบบสุขภาพไทย มุ่งสู่ระบบสุขภาพพอเพียง เพื่อสร้างให้: สุขภาพดี บริการดี สังคมดี ชีวิตมีความสุขอย่างพอเพียง
Dr.Supakit Sirilak กรอบความสัมพันธ์ของแนวคิด วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ กรอบความสัมพันธ์ของแนวคิด วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาพและการพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : สร้างเอกภาพและธรรมาภิบาล ในการจัดการระบบสุขภาพ วิสัยทัศน์ “สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน” ยุทธศาสตร์ที่ 2 : สร้างวัฒนธรรมสุขภาพ และวิถีชีวิตที่มีความสุข ในสังคมแห่งสุขภาวะ ยุทธศาสตร์ที่ 4 : สร้างระบบภูมิคุ้มกัน เพื่อลดผลกระทบจากโรคและภัยคุกคามสุขภาพ คน เป็นศูนย์กลาง การพัฒนา ยุทธศาสตร์ที่ 3 : สร้างระบบบริการสุขภาพ และการแพทย์ที่ผู้รับบริการ อุ่นใจ ผู้ให้บริการมี ความสุข ยุทธศาสตร์ที่ 5 : สร้างทางเลือกสุขภาพ ที่หลากหลายผสมผสานภูมิปัญญาไทยและสากล “ระบบสุขภาพพอเพียง” สุขภาพดี บริการดี สังคมดี ชีวิตมีความสุขอย่างพอเพียง ยุทธศาสตร์ที่ 6 : สร้างระบบสุขภาพฐานความรู้ด้วยการจัดการความรู้ แนวคิดหลัก: ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง & สุขภาพดีเป็นผลจากสังคมดี
สุขภาพพอเพียง ก้าวไปข้างหน้าเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพไทย Dr.Supakit Sirilak สร้างระบบบริการสุขภาพ และการแพทย์ที่ผู้รับบริการ อุ่นใจ ผู้ให้บริการมีความสุข สร้างวัฒนธรรมสุขภาพและวิถีชีวิต ที่มีความสุขในสังคมแห่งสุขภาวะ ร่วมคิด ร่วมทำ พอเพียง ยั่งยืน สร้างทางเลือกสุขภาพ ที่หลากหลายผสมผสาน ภูมิปัญญาไทยและสากล สร้างภูมิคุ้มกันเพื่อลดผลกระทบ จากโรคและภัยคุกคามสุขภาพ การก้าวเดินไปข้างหน้าให้ดีที่สุดในสถานการณ์ปัจจุบัน ก็คือ การเปิดโอกาสให้คนในท้องถิ่นได้มีส่วนร่วม คิด ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ ในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของเขาเอง แต่ทั้งนี้ก็คงต้องมีกรอบกติกาว่าจะทำอะไรได้มากน้อยเพียงใดซึ่งกติกาต่างๆก็คือกฎหมาย หรือข้อตกลงต่างๆที่จัดทำขึ้นนั่นเอง พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เป็นกฎหมายที่ก้าวหน้า ที่เน้นเรื่องการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนเป็นอย่างมาก จะเห็นได้จาก คณะกรรมการชุดต่างๆตั้งแต่ระดับชาติจนถึงระดับจังหวัด จะกำหนดให้มีองค์ประกอบของคณะกรรมการที่มาจากทุกภาคส่วนของสังคมคือส่วนราชการ ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนองค์กรเอกชนที่ไม่แสวงหากำไร ผู้แทนผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุข ผู้ทรงคุณวุฒิ และมีทิศทางสอดคล้องกันกับพ.ร.บ. กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ต้องการเห็นกลไกการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการระบบสุขภาพในระดับพื้นที่ ดังนั้นควรใช้จุดแข็งทีมีอยู่นี้ดำเนินการสร้างความเข้มแข็งให้กับคณะกรรมการระดับพื้นที่นี้ ให้สามารถบริหารระบบหลักประกันสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพบนพื้นฐานของการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายอย่างแท้จริงและขยายขอบข่ายออกไปเป็นการพัฒนาระบบสุขภาพโดยรวมสำหรับพื้นที่ในที่สุด ทั้งนี้ต้องไม่ลืมว่าต้องมีการจัดการอย่างเป็นระบบจริงจังและต่อเนื่องอย่างรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงบริบทของเศรษฐกิจสังคมการเมืองทั้งภายในและต่างประเทศและเพื่อให้เราก้าวไปถึงเป้าหมายได้ตามที่มุ่งหวัง ร่วมประเมิน ร่วมรับผล สร้างระบบสุขภาพฐานความรู้ ด้วยการจัดการความรู้ สร้างเอกภาพและธรรมาภิบาล ในการจัดการระบบสุขภาพ
พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550
คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ สมัชชาสุขภาพ 5 significant points นิยาม “สุขภาพ” คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ สมัชชาสุขภาพ ธรรมนูญสุขภาพ
Dr.Supakit Sirilak Burden of Disease Morbidity Mortality DALY (Disability-adjusted Life Years) YLL (Year of Life Lost) YLD (Year Lived with Disability) DALY= YLL+YLD
Life Expectancy & Healthy Life Expectancy Dr.Supakit Sirilak
Disability Adjusted Life Years (DALY) Loss Dr.Supakit Sirilak
Dr.Supakit Sirilak Steps Policy Formulation Strategic Formulation Strategic Implementation/Control Strategic Evaluation
ยุทธศาสตร์เฉพาะ ระดับชาติ ของรัฐบาล (Agenda) ยุทธศาสตร์กระทรวง การวางแผน ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ การนำ สู่การปฏิบัติ การติดตาม กำกับ ประเมินผล ยุทธศาสตร์เฉพาะ ของรัฐบาล (Agenda) ระดับชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวง (Function) ระดับกระทรวง ยุทธศาสตร์พื้นที่ (Area) ระดับจังหวัด
กระทรวง สาธารณสุข ผู้ว่าฯ CEO ท้องถิ่น สปสช./ สปส. กองทุนฯ Multidisciplinary กระทรวง สาธารณสุข ผู้ว่าฯ CEO ท้องถิ่น สปสช./ สปส. สสส. Area กองทุนฯ Output/ Outcome/ Impact
Dr.Supakit Sirilak สวัสดี