ข้อพิจารณาเกี่ยวกับ คุณภาพการเรียนอิเล็กทรอนิกส์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

กับการสร้างหน่วยการเรียนรู้
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
โครงการจัดตั้งศูนย์สื่อการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
ภาพรวมแนวคิดของโครงงาน
การพัฒนาระบบสารสนเทศ และฐานข้อมูลด้านการวิจัย
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
องค์ประกอบ e-Learning และ WBI
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
สรุป การประเมินผลการควบคุมภายใน
การเขียนโครงร่างปัญหาพิเศษ การเขียนโครงร่างปัญหาพิเศษ
ผู้อำนวยการสถานศึกษา ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การประเมินผลการเรียน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเขียนแผนการสอน ด้านทฤษฎี 13. นายบัญญัติ สมสุพรรณ ครูเชี่ยวชาญ
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
ยินดีต้อนรับสู่การอบรม ณ โรงเรียนสุรนารีวิทยา
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
นางจุไรวรรณ ศรีศักดิ์นอก นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
ท่านเกิดปัญหานี้หรือไม่
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
บุคลากรคอมพิวเตอร์.
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การวัดและประเมินผล การเรียนรู้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
ADDIE Model.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ด้านคุณภาพมาตรฐาน การจัดการเรียนการสอนออนไลน์
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
Worksheets for Workshop แบบฝึกปฏิบัติการ หลักสูตรการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร สถาบันการเรียนรู้กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง.
สรุปวิธีสอนที่ใช้ในการฝึกอบรม
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
กระบวนการ การออกแบบการเรียนการสอน แนวคิดสำคัญ เริ่มจากการคิดทุกอย่างให้จบสิ้น จึงเริ่มต้นจากปลายทางที่ ผลผลิตที่ต้องการ เป็นหลักฐาน พยานแห่งการเรียนรู้
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อพิจารณาเกี่ยวกับ คุณภาพการเรียนอิเล็กทรอนิกส์

คุณภาพการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ด้านผู้พัฒนาและการเผยแพร่ ด้านหลักสูตร ด้านขอบข่ายและวิชาการ ด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน ด้านการประเมินและวัสดุเสริม

คุณภาพการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ด้านส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ ด้านภาพรวมของรายวิชาและคุณค่าของสื่อ ด้านเครื่องมือสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ ด้านเทคโนโลยี ด้านบริการเพิ่มเติมและการแนะนำ

1) ด้านผู้พัฒนาและการเผยแพร่ สถานภาพของหน่วยงานผู้พัฒนา การเผยแพร่รายวิชา ลักษณะของการอนุญาต การสนับสนุนจากสถาบัน ระดับของผู้เรียน

2) ด้านการพัฒนาหลักสูตร การระบุผลลัพธ์ทางการเรียน สถาบันมีความเข้มงวดในเชิงวิชาการ สถาบันกำหนดข้อบังคับของหลักสูตร โครงสร้างหลักสูตร การสนับสนุนผู้เรียน การสนับสนุนผู้สอน การประเมิน

3) ด้านขอบข่าย / วิชาการ ความครอบคลุม สไตล์การเขียนและความแม่นยำ ประมวลรายวิชาและการปฐมนิเทศ วัตถุประสงค์ทางการเรียนที่ชัดเจน แบบฝึกหัด / แบบฝึกปฏิบัติ ตำราเสริม การสนับสนุนทางการเรียนรู้

4) ด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน วิธีการเรียนการสอน ตารางเวลาและการมอบหมายงาน การเรียนการสอน ผู้สอนต้องให้ผลป้อนกลับต่องานมอบหมายที่ให้กับผู้เรียน

5) ด้านการประเมินและวัสดุเสริม การประเมินประสิทธิภาพของหลักสูตร และกระบวนการเรียนการสอน การจัดเตรียมการประเมิน วิธีการประเมิน การประเมินให้เกรด การให้เกรดแบบรูบริค ลักษณะ / ชนิดของการทดสอบ การให้ผลป้อนกลับจากรายงานการทดสอบที่สามารถวนซ้ำได้ วัสดุเสริมสนับสนุนผู้สอน

6) ด้านส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ การนำทาง สิ่งบ่งชี้ความก้าวหน้าในการเรียน การกำหนดองค์ประกอบความสม่ำเสมอในการนำเสนอ การควบคุมสื่อ

7) ด้านภาพรวมของรายวิชาและคุณค่าของสื่อ แสดงภาพรวมของการสอน การนำเสนอด้วยสื่อสะท้อนภาพรวมของรายวิชา แนวทางการนำเสนอเนื้อหา มีความเป็นกลาง

8) ด้านเครื่องมือสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ สิ่งแวดล้อมของรายวิชา การเข้าถึงเครื่องมือสื่อสาร เนื้อหาสาระเอื้อต่อการใช้เครื่องมือสื่อสาร

ลักษณะการเผยแพร่ของรายวิชา ระบบปฏิบัติการ การสนับสนุนด้วยเบราเซอร์ 9) ด้านเทคโนโลยี ลักษณะการเผยแพร่ของรายวิชา ระบบปฏิบัติการ การสนับสนุนด้วยเบราเซอร์ ฮาร์ดแวร์ / ซอฟต์แวร์ ปลั๊ก อิน องค์ประกอบของเลิร์นนิ่งอ๊อบเจ็ค การเข้าถึงเนื้อหา การให้สิทธิเข้าใช้และลิขสิทธิ์ของเนื้อหา

10) ด้านบริการเพิ่มเติม การแนะนำโดยสถาบัน บริการเพิ่มเติม การสนับสนุนผู้เรียน การสนับสนุนผู้สอน

คุณภาพของการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ จบการบรรยาย คำถาม