หนี้สาธารณะของรัฐบาลไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

สหกรณ์ออมทรัพย์ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ อุบล จำกัด
ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
การคลังและนโยบาย การคลัง
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 7 ตลาดการเงินและสถาบันการเงิน
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
สถาบันการเงิน.
การบูรณาการของนโยบายการคลัง ( )
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางด้านการเงิน ธนชัย ผู้พัฒน์
Statement of Cash Flows
Revision Problems.
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
กินดีอยู่ดีด้วยสถาบันการเงิน
ฝ่ายนโยบายและแผน งานงบประมาณ ฝ่ายการคลัง ภาควิชา หน่วยงาน
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
“การบริหารรายได้รายจ่ายของรัฐบาล”
บทที่ 8 นโยบายการคลัง(Fiscal Policy)
บทที่ 5 การจัดหาเงินทุนระยะสั้นและระยะปานกลาง Short- Term and Intermediate-Term Financing.
บทที่ 4 งบการเงิน.
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
กลุ่ม 2 ข้อ 4. ปัญหา สาเหตุ แนวทางป้องกัน แนวทางแก้ไข
รายรับและรายจ่ายของรัฐ
1 ความเปลี่ยนแปลง ในภาคการเงินและในการ อภิบาลบริษัท ดร. อัมมาร สยามวาลา 9 ธันวาคม 2549.
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
การประชุมชี้แจง การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี และ การขยายเวลาเบิกจ่ายเงิน
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ภาพรวมระบบการทำงาน GFMIS-TR สำนักบริหารหนี้สาธารณะ
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2518 – 2552
การบริหารจัดการทุนหมุนเวียน กลุ่มงานพัฒนาเงินนอกงบประมาณ
การบริหารงานการเงินของสถานศึกษา
ประกาศคณะกรรมการบริหารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการให้กู้ยืมเงินกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย.
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
รัฐวิสาหกิจไทย: อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
1 รายงานสถานะกองทุน และผลการดำเนินงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว.
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 2 การจัดหาเงินทุน (Financing)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
SMEs SMALL MEDIUM ENTERPRIS ES วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ผู้ประกอบการ ในกิจการ อุตสาหกรรม ธุรกิจการเกษตร พาณิชยกรรม ธุรกิจบริการ.
บริหารธุรกิจการเงิน ปี 4
งบประมาณรายจ่ายรัฐบาล
ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ความไม่แน่นอนปี 2554
แนวทางการมีส่วนร่วมของกรมฯ การปฏิบัติของจังหวัด
เทคนิคการจำแนกหมวดบัญชี
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การคลัง ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม.
เพื่อช่วยลดภาระดอกเบี้ย แก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าว เป็นเกษตรกรผู้ปลูกข้าว นาปี ปีการผลิต 2557/ 58 ที่มีหนี้เงินกู้คงเหลือเพื่อ การผลิตข้าวนาปี จำนวน 3,570,000.
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
ระเบียบว่าด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิก
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
หน้าที่ทางการตลาด Marketing Function
หนี้ของ สมาชิก ทั้งหมด หนี้ของสมาชิกทุก สัญญารวมกันไม่เกิน หนึ่งแสน สำรวจครั้ง แรก ก่อน 30 สิงหาคม 2551 สำรวจเพิ่มเติมถึง วันที่ 30 กันยาน 2551 ( ไม่เกิน.
Creative Accounting
FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
บทที่ 4 ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การคลัง ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หนี้สาธารณะของรัฐบาลไทย จัดทำโดย นางสาวกิติยาภรณ์ พรมชาติ นางสาวปิยะทิพย์ ดอนปัญญา นางสาวสุวรรณี เริงชัยภูมิ นางสาวสุนิสา ทองอ้ม นางสาวเสาวณีย์ กลิ่นสุคนธ์ สาขาเศรษฐศาสตร์ปีที่ 2

ความหมายหนี้สาธารณะของรัฐบาลไทย หนี้สาธารณะ (Public Debt) หรือหนี้ของรัฐบาล (government Deb) หมายถึงหนี้สินที่รัฐบาลก่อขึ้นเพื่อนำมาใช้จ่ายในกิจการของรัฐบาล และที่อยู่ในรูปของสัญญาใช้เงินที่รัฐบาลให้ไว้แก่ผู้ที่รัฐบาลกู้ยืม ว่ารัฐบาลจะจ่ายคืนเงินต้นที่กู้มาพร้อมทั้งดอกเบี้ยจำนวนหนึ่ง เมื่อครบกำหนดเวลาตามสัญญา

» สินค้าและบริการ ความสำคัญของหนี้สาธารณะ รัฐบาลจะเก็บภาษีต่างๆไปใช้จ่ายเพื่อการผลิตสินค้าและบริการต่างๆที่จำเป็นต่อสังคม เช่น บริการป้องกันประเทศ การรักษาความสงบภายใน และบริการสาธารณะต่างๆ » การขยายตัวทางเศรษฐกิจ รัฐบาลกู้ยืมเงินมาเพื่อนำมาลงทุนในโครงพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

ความสำคัญของหนี้สาธารณะ » ชำระหนี้เงินกู้ของรัฐบาล การชำระคืนเงินกู้ของรัฐบาล เมื่อถึงกำหนดระยะเวลาชำระคืนแต่รัฐบาลไม่มีเงินเพียงพอ รัฐบาลก็จะต้องกู้ยืมเงินจากแหล่งอื่นเพื่อนำมาหมุนเวียนใช้หนี้เก่า » การเคลื่อนย้ายของเงินทุนระหว่างประเทศ เมื่อรัฐบาลกู้ยืมเงินมาจากต่างประเทศก็ส่งผลให้เกิดการเคลื่อนย้ายของเงินทุนเข้ามาในระบบเศรษฐกิจ แต่เมื่อรัฐบาลชำระคืนเงินกู้ก็จะส่งผลให้เกิดการเคลื่อนย้ายของเงินทุนออกจากระบบเศรษฐกิจ

1.แบ่งตามระยะเวลาของการกู้ ประเภทของหนี้สาธารณะ 1.แบ่งตามระยะเวลาของการกู้ ☻ระยะสั้น(Short-Tem Loan) หนี้ที่มีระยะเวลาการไถ่ถอนไม่เกิน 1 ปี *การกู้ยืมโดยออกตั๋วเงินคลัง(Treasury Bills) *การกู้ยืมโดยเบิกเกินบัญชี(OverdraftหรือO/D) ☻หนี้ระยะกลาง(Medium-Tem Loan) หนี้ที่มีกำหนดระยะเวลาชำระคนตั้งแต่ 1ถึง 5 ปี ☻หนี้ระยะยาว(Long-Tem Loan) หนี้ที่มีระยะเวลาการไถ่ถอนคืนตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป

2.แบ่งตามแหล่งที่มาของเงินกู้ ☻หนี้ภายในประเทศ(Internal Debt)เป็นการกู้ยืมจากแหล่งเงินกู้ภายในประเทศ ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารกลาง สถาบันการเงินอื่นๆ ☻หนี้ภายนอกประเทศ(External Debt) เป็นการกู้ยืมเงินจากต่างประเทศ ได้แก่ เอกชนต่างประเทศ รัฐบาลต่างประเทศ และสถาบันการเงินระหว่างประเทศอื่นๆ

ประเภทของหนี้สาธารณะ 3.แบ่งตามลักษณะการก่อหนี้ ☻การก่อหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การก่อหนี้ลักษณะนี้เป็นเพียงการเปลี่ยนมือผู้ใช้จ่ายเงินเอกชน ธนาคารพาณิชย์ หรือสถาบันการเงินอื่นๆมาเป็นรัฐบาล ☻การก่อหนี้ที่ก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การก่อหนี้ของรัฐบาลไม่เพียงแต่เป็นการเปลี่ยนแปลงผู้ใช้จ่ายหรือผู้ลงทุนเท่านั้น แต่ทำให้ค่าใช้จ่ายในระบบเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นจากเดิมเท่ากับจำนวนที่รัฐบาลกู้มา

ฐานะหนี้สินของรัฐบาล ( หน่วย : พันล้าน ) ปีงบประมาณ 2531 2532 2533 2534 2535 2536 2537 2538 ยอดหนี้ค้าง ณ สิ้นปีงบประมาณ 642.2 622.6 617.1 589.7 600.4 602.7 624.7 685.4 ( สัดส่วนต่อ GDP) 41.2 33.5 28.2 23.5 21.4 19.8 17.4 16.5 หนี้ในประเทศ 344.8 328.2 344.3 308.1 297.5 286.5 267.8 298.2 - รัฐบาลกู้โดยตรง 319.4 302.6 307.5 235.2 210.6 164.0 110.4 74.6 -รัฐบาลค้ำประกัน 25.4 25.6 36.8 72.9 86.9 122.5 157.4 223.6 หนี้ต่างประเทศ 297.4 294.4 272.8 281.6 302.9 334.2 356.9 387.2 131.3 127.5 92.7 93.9 99.1 106.0 114.2 121.0 - รัฐบาลค้ำประกัน 166.1 166.9 180.1 187.7 203.8 228.2 242.7 266.2 (สัดส่วนของงบชำระหนี้ของรัฐบาลต่องบประมาณรายจ่าย 24.5 23.3 20.8 14.3 12.7 11.2 9.4 6.2