Computer Programming for Engineers

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

โรงเรียนประกิตเวชศักดิ์
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
Processing Data Using MATLAB
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
สถิติพื้นฐานที่มีโอกาสนำไปใช้บ่อย
ข้อตกลงในการเรียน พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับนำไปใช้ในเรื่อง
พาราโบลา (Parabola).
อินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิติแบบแน่นอน
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
TWO-DIMENSIONAL GEOMETRIC
LAB # 3 Computer Programming 1
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 3 Digital.
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
Interaction Icon Properties
PHP LANGUAGE.
ลักษณะพิเศษของ ภายใต้คำสั่ง <BODY>
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
Lecture no. 6 Structure & Union
ระบบอัตโนมัติและการพิมพ์
การสร้างตาราง Click mouse ที่ปุ่ม จะปรากฏช่องสี่เหลี่ยมแสดง
Function and Their Graphs
หลักเกณฑ์การอ่านแผนที่
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
การจำแนกตัวอักษรออกจากบรรทัดข้อความ
การจำแนกตัวอักษรออกจากบรรทัดข้อความ
คณิตศาสตร์ แสนสนุก.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
อาร์เรย์และข้อความสตริง
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
เรื่อง การนำเสนอข้อมูลด้วยกราฟ
1. คลุมดำข้อมูลที่ต้องการสร้างกราฟ 2. คลิกเมนู แทรก 3. คลิก แผนภูมิ
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ชนิดของเซต เช่น A = เซตว่าง (Empty set or Null set)
พาราโบลา (Parabola) โรงเรียนอุดมดรุณี ครูฐานิตดา เสมาทอง
การแจกแจงปกติ.
วิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก intro_vb_net_06 การสร้างกราฟเส้นตรงด้วย VB.NET
วิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
Week 12 Engineering Problem 2
Week 12 Engineering Problem 2
Computer Programming for Engineers
โปรแกรมประยุกต์อื่นๆ
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Excel ชุดที่ 3 การสร้างกราฟ
วาดรูปด้วย Paint ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
เด็กหญิง สุนิสา จิตรมั่น โรงเรียนวัดแหลมมะเกลือ
การใช้คำสั่งเงื่อนไข
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
พีระมิด.
Output of C.
รหัสวิชา บทที่ 4 การจัดรูปแบบเอกสาร.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Low Level GUI อ.วิวัฒน์ ชินนาทศิริกุล.
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
การพิมพ์ตารางออกทางเครื่องพิมพ์
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

259201 Computer Programming for Engineers Week 12 MATLAB กับการสร้างกราฟ

องค์ประกอบของกราฟ Plot title Legend Y label Data Symbol Tick Mark X label Tick-mark label

การพลอตกราฟ ฟังก์ชัน plot(x,y) พลอตกราฟของ coordinate (x,y) ฟังก์ชัน title(‘text’)  กำหนดชื่อ กราฟ ฟังก์ชัน xlabel(‘text)  กำหนดป้าย ชื่อแกน x ฟังก์ชัน ylabel(‘text’)  กำหนดชื่อ ป้ายชื่อแกน y

การพลอตกราฟ Example >> x =[0:0.1:52]; >> y = 0.4*sqrt(1.8*x); >> plot(x,y) >> xlabel(‘Distance (km)’); >> ylabel(‘Height (km)’); >> title(‘Missile Height as a Function of Downrange Distance’);

การพลอตกราฟ สี รูปแบบเส้นกราฟ สัญลักษณ์ k b c g m r w y ดำ น้ำเงิน ไซแอน เขียว ม่วงแดง แดง ขาว เหลือง - : -- -. เส้นทึบ สันประชนิดจุด เส้นประชนิดขีด เส้นประชนิดขีด และจุด . O X + * s d v ^ < > P H จุด วงกลม กากบาท บวก ดอกจัน สี่เหลี่ยม ข้าวหลามตัด สามเหลี่ยมชี้ลง สามเลี่ยมชี้ขึ้น สามเลี่ยมชี้ซ้าย สามเลี่ยมชี้ขวา ดาวห้าแฉก ดาวหกแฉก สี รูปแบบเส้นกราฟ สัญลักษณ์

การพลอตกราฟ ฟังก์ชัน grid แสดงเส้นตาราง grid on (แสดง), grid off (ไม่แสดง) ฟังก์ชัน axis  กำหนดช่วงของการแสดงผลของ แกนต่างๆ axis([xmin xmax ymin ymax]) axis square  กำหนดรูปสี่เหลี่ยม axis equal  กำหนด scale เท่ากันทั้งสองแกน

การพลอตกราฟ axis([0 52 0 5]): ค่าต่ำสุด และสูงสุดทางแกน x คือ 0 และ 52 grid on axis([0 52 0 5]): ค่าต่ำสุด และสูงสุดทางแกน x คือ 0 และ 52 ค่าต่ำสุด และสูงสุดทางแกน y คือ 0 และ 5

การพลอตกราฟ เมื่อมีการสั่งพลอตกราฟใหม่ รูปกราฟเดิมจะถูกลบทิ้งและแทนที่ด้วยรูปกราฟใหม่ หากต้องการพลอตรูปใหม่ซ้อนทับโดยรูปกราฟเดิมไม่หายไป >> hold on ยกเลิกคำสั่ง hold >> hold off

การพลอตกราฟ เส้นกราฟ 2 เส้นบนกราฟเดียวกัน plot(x,y,u,v) คู่ x-y >> y = sinh(x); >> z = tanh(x); >> plot(x,y,x,z,‘--’) >> xlabel(‘x’) >> ylabel(‘Hyperbolic Sine…and Hyperbolic Tangent’) หรือใช้ฟังก์ชัน hold on (ค้างไว้) >>plot(x,y) >>hold on >>plot(x,z,’-’) คู่ x-y คู่ x-z

การพลอตกราฟ ฟังก์ชัน legend ข้อความอธิบายความหมายของ สันกราฟ >>legend(‘sinh(x)’, ’tanh(x)’) legend

การพลอตกราฟ ฟังก์ชัน gtext ฟังก์ชัน text >>gtext(‘test’) % เมื่อกด enter จะมีเครื่องหมาย % กากบาทปรากฏบนรูป % ให้คลิก mouse ที่ตำแน่งที่ต้องการ % ให้ข้อความ test ปรากฏ ฟังก์ชัน text >>text(x,y,’test’)%x คือค่า coordinate ในแกน x % และ y คือค่า coordinate ใน % แกน y ที่ต้องการให้ข้อความ % test ปรากฏ x และ y อาจเป็น % vector ก็ได้

การพลอตกราฟ การแสดงกราฟย่อย (ฟังก์ชัน subplot) 6 5 4 3 2 1 subplot(m,n,p) %m แถว n column รูปที่ p 6 5 4 3 2 1 มี 6 กราฟ โดยเรียงเป็น 3 แถว 2 column จะนับรูปจากซ้ายไป ขวาบนลงล่างดังต้วเลขในตาราง

การพลอตกราฟ รูปที่ 1 รูปที่ 2 >> x = [0:.01:5]; >> y = exp(-1.2*x).* sin(10*x+5); >> subplot(1,2,1) >> plot(x,y), xlabel(‘x’), ylabel(‘y’) >> axis([0 5 –1 1]) >> x = [-6:.01:6]; >> y = abs(x.^3-100); >> subplot(1,2,2) >> axis([-6 6 0 350]) รูปที่ 1 รูปที่ 2

การพลอตกราฟ ฟังก์ชัน fplot ค่าพิกัดเก็บไว้ใน อาเรย์ x และ y fplot(‘func’,[xmin xmax ymin ymax]) >>[x,y]=fplot(‘cos(tan(x))–tan(sin(x))’,[1 2]) ค่าพิกัดเก็บไว้ใน อาเรย์ x และ y

เปรียบเทียบ fplot กับ plot >> y = ‘cos(tan(x)) - tan(sin(x))’; >> fplot(y,[1,2]) >> x = [1:0.01:2]; >> y = cos(tan(x)) - tan(sin(x)); >> plot(x,y)

การพลอตกราฟ ฟังก์ชัน polyval 3x5+2x4-100x3+2x2-7x+90 >> plot(x,polyval(p,x)) >> xlabel(‘x’), ylabel(‘y’)

ตัวอย่างการพลอตกราฟ ให้พลอตกราฟอุณหภูมิ ระหว่าง อุณหภูมิเซลเซียส (แกน x) กับฟาเรน- ไฮต์ (แกน y) ในช่วงอุณหภูมิเซลเซียสตั้งแต่ -50 ถึง 100 องศาเซลเซียส Input ?? อุณหภูมิเซลเซียส (TC) กำหนดค่า TC ในช่วง -50 ถึง 100 Output ?? อุณหภูมิฟาเรนไฮต์ (TF) และกราฟ Algorithm ?? TF = (9/5)TC + 32

ตัวอย่างการพลอตกราฟ TC = [-50:5:100]; TF = (9/5)*TC + 32; plot(TC,TF,'*') grid; xlabel('Temperature (Celsius)'); ylabel('Temperature (Fahrenheit)'); title('Fahrenheit versus Celsius Temperature Conversion');

การพลอตกราฟ ฟังก์ชัน set สำหรับการกำหนด tick mark >>set(gca, ’Xtick’, [xmin:dx:xmax], ‘Ytick’, [ymin:dy:ymax]) %ให้ค่าประจำแกน x ต่ำสุดที่ xmin และสูงสุดที่ xmax โดยที่มี ระยะห่างเป็น dx และ ให้ค่าประจำแกน y ต่ำสุดที่ ymin และสูงสุด ที่ ymax โดยที่มีระยะห่างเป็น dy >>set(gca, ’Xtick’, [0:0.2:2], ’Ytick’, [0:0.1:1]) %สามารถ set label ของ Tick mark ทางแกน x ให้เป็นชื่อเดือน ได้ >>set(gca,’Xticklabel’,[‘Jan’; ’Feb’; ’Mar’; ’Apr’; ’May’; ’Jun’]) >>set(gca,’Xtick’,[1:6])

การพลอตกราฟ ฟังก์ชัน set สำหรับการกำหนด tick mark การกำหนด tick mark เป็นข้อความ สามารถทำได้โดยใช้คำสั่ง set เช่นกัน >>set(gca,’Xticklabel’,[‘Jan’; ’Feb’; ’Mar’; ’Apr’; ’May’; ’Jun’]) %สามารถ set label ของ Tick mark ทางแกน x ให้เป็นชื่อเดือนได้

การพลอตกราฟ: กราฟรูปแบบอื่นๆ ฟังก์ชัน stem, stairs, bar >>x=[1:6]; >>y=[13 5 7 14 10 12]; >>stem(x,y) >>stairs(x,y) >>bar(x,y)

การพลอตกราฟ ฟังก์ชัน hist(x,n) ใช้สร้างกราฟฮีสโตแกรมของตัวแปร x โดยต้องการแบ่งช่วงข้อมูลออกเป็น n ช่วง ใช้ plot histogram ความถี่ของข้อมูล เช่น น.ศ. 20 คน สอบได้คะแนนต่างๆ กัน (คะแนนเต็ม 10) ต้องการแบ่งช่วงคะแนนเป็น 5 ช่วง อยากทราบจำนวนน.ศ.สอบได้คะแนน สามารถใช้ histogram สร้างกราฟได้

การพลอตกราฟ >> score=[2 9 4 5 4 2 9 5 6 2 8 7 2 3 9 1 6 3 4 6]; >> hist(score,5)