ศิลปะการพูดในที่ชุมชน รู้เรื่องที่จะพูด พูดให้รู้เรื่อง
สาเหตุของความประหม่า ไม่มั่นใจในเรื่องที่จะพูด ไม่คุ้นกับผู้ฟัง กลัวไม่ชอบ กลัวต่อต้าน กลัวลองภูมิ ไม่คุ้นกับสถานที่ กลัวความผิดพลาด ฯลฯ
เทคนิคการลดความประหม่า / ตื่นเต้น ฝึกซ้อมล่วงหน้ามาดี จะมีความมั่นใจ เตรียมทุกอย่างให้พร้อมล่วงหน้า จินตนาการถึงความสำเร็จก่อนการพูด หายใจเข้า-ออก ลึกๆ ช้าๆ อุ่นเครื่องโดยทักทาย พูดคุยกับผู้ฟัง ดึงความสนใจออกจากตัวผู้พูด
“พอกันที เจ้าความประหม่า วันนี้ ข้าชนะเจ้าแน่ ๆ แบบฝึกหัด (หัวเราะ) “พอกันที เจ้าความประหม่า วันนี้ ข้าชนะเจ้าแน่ ๆ จำไว้ว่า ข้าชื่อ..........”
การวิเคราะห์ผู้ฟัง ทำไมถึงต้องวิเคราะห์ผู้ฟัง ? ประเด็นในการวิเคราะห์ผู้ฟัง
ทำไมถึงต้องวิเคราะห์ผู้ฟัง ? เพื่อจัดเตรียมเนื้อหาและวิธีการนำเสนอ ให้สอดคล้องกับผู้ฟัง เพื่อหาแนวทางป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น
ประเด็นในการวิเคราะห์ผู้ฟัง ข้อมูลพื้นฐาน ทัศนคติ ความคาดหวัง พื้นความรู้ความเข้าใจ ผู้ฟังเป้าหมายหลัก
โครงสร้างเนื้อหา บทนำ เนื้อเรื่อง บทสรุป การเชื่อมโยง
บทนำ เกริ่นนำ เพื่อดึงความสนใจผู้ฟัง บอกวัตถุประสงค์ของการพูด บอกว่าจะพูดเรื่องอะไรบ้าง
เนื้อเรื่อง ความสำคัญของเรื่อง ทำได้อย่างไร ยกตัวอย่าง บอกอะไร ความสำคัญของเรื่อง ทำได้อย่างไร ยกตัวอย่าง ทดสอบความเข้าใจของผู้ฟัง
บทสรุป สรุปเนื้อหาหลัก โยงกลับไปสู่ตอนเปิด พูดให้ เต็มภาคภูมิ , ให้มี Commitment, Action, ให้กำลังใจ, ให้ความมั่นใจ
การเชื่อมโยง เพื่อบอกให้ทราบว่ากำลังจะเปลี่ยนเรื่องแล้ว จบหัวข้อ / ตอน จะขึ้นหัวข้อ / ตอนใหม่
การใช้ภาษา ใช้ภาษาให้เหมาะกับบุคคล อักขระให้ถูกต้อง ชัดเจน ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย ใช้ภาษาที่สุภาพ หลีกเลี่ยงการใช้คำซ้ำซาก อย่า เอ้อ.....อ้า....
การใช้เสียง / จังหวะการพูด ไม่ใช้ระดับเสียงเดียว มีความดัง และความเร็วพอสมควร น้ำเสียงไม่กระด้าง พูดช้า หรือเบาลง เสียงต่ำ เพื่อเน้นความสำคัญ เสียงสูงขึ้น : กระตือรือร้น
การเคลื่อนไหวร่างกาย อย่ายืนอยู่กับที่นาน ท่านั่ง ยืน เดิน มั่นคงสง่าผ่าเผย ไม่ให้มืออยู่ในท่าปิด ใช้มือหรือแสดงท่าทางประกอบการพูดให้สอดคล้องกัน ไม่ควรถืออะไรในมือ
การใช้สายตา ให้สายตาอยู่กับผู้ฟังมากที่สุด สบตาผู้ฟังนานพอให้รู้สึกว่าเราสนใจผู้ฟัง สบตาผู้ฟังสลับกันไป อย่าจ้องคนเดียวนาน ๆ ไม่มองอย่างไร้จุดหมาย อย่าทิ้งผู้ฟัง
การโน้มน้าวจูงใจ วิเคราะห์หาแรงจูงใจของผู้ฟัง เริ่มจากประเด็นที่ผู้ฟังสนใจหรือเกี่ยวข้อง ชี้ให้เห็นประโยชน์ถ้าฟังและทำตาม ยกตัวอย่าง ชี้ให้เห็นโทษถ้าปฏิเสธ (ไม่ใช่ข่มขู่) ยกตัวอย่าง เรียกร้องให้ดำเนินการ เสริมแรงเมื่อมีการทำตามแล้ว
แบบฝึกหัด ประธานเปิดงาน กล่าวอวยพรในงานมงคลสมรส กล่าวอวยพรในงานขึ้นบ้านใหม่ กล่าวแสดงความชื่นชมต่อความสำเร็จของลูกน้อง
ศาสตราจารย์ ดร. เรวัตร์ ชาตรีวิศิษฏ์ ข้อมูลจากการฝึกอบรม โดย ศาสตราจารย์ ดร. เรวัตร์ ชาตรีวิศิษฏ์ เผยแพร่ความรู้โดย KM Team สชป.15