งานคุ้มครองผู้บริโภค ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน
Advertisements

กิจกรรม อย.น้อย โรงเรียนบ้านม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
นายแพทย์พูลสิทธิ์ ศีติสาร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี
สื่อเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นอิสระจากโฆษณา
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
ประธานกลุ่ม : คุณสยาม เลขานุการกลุ่ม : คุณรัตนา ผู้นำเสนอ : คุณศรัญญา, คุณจรรยวรรธน์ สรุปผลการประชุม กลุ่มที่ 5.
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
จังหวัดลำปาง. จังหวัดลำปาง จังหวัดลำปาง ถ่านหินลือชา รถม้าลือลั่น เครื่องปั้นลือนาม งามพระธาตุลือไกล ฝึกช้างใช้ลือโลก.
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
เกิดได้ก็ดี คาดว่าต้องเกิด ต้องเกิด เกษตรปลอดสาร ประชาชนฉลาดซื้อ ฉลาดใช้ ฉลาดกิน มีศูนย์รับข้อร้องเรียน คาดว่าต้องเกิด ครัวเรือนปลูกผักกินเอง “
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
การบังคับใช้กฎหมายบุหรี่-สุรา ปี 2552
๑. ด้านส่งเสริมจิตสำนึกราชการใสสะอาด
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
การพัฒนาระบบงานคุ้มครองผู้บริโภค
แผนปฏิบัติการด้านคุ้มครองผู้บริโภค อบต.ปากพูน
ภาพความสัมพันธ์การทำงานคุ้มครองผู้บริโภค ท่าข้าม
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สรุปผลนิเทศงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข ระดับอำเภอปีงบประมาณ สิงหาคม 2557.
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
รายละเอียดการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ด้านการดำเนินงานการตั้งครรภ์หญิง วัยรุ่น o ๑. มาตรการด้านบริหารจัดการ การประชุมพิจารณา กรอบแนวทางการประเมินผลตามตัวชี้วัด และ มาตรฐานการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญ.
นายวิเชียร มีสม วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนที่ 3 สอนโดย นายวิเชียร มีสม 1 เรื่อง สุขภาพผู้บริโภค เรื่อง.
ประธาน นายสุริน รักษาแก้ว เลขา คุณสุนันทา รอดสม ผู้นำเสนอ นายเบญพล ใหม่ชู
สถานการณ์การดำเนินงานวิสาหกิจชุมชน กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบึงหลุมบัว
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานคุ้มครองผู้บริโภค ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา ศูนย์พิทักษ์สิทธิผู้บริโภค องค์การบริหารส่วนตำบลควนรู

การลงนามในบันทึกความร่วมมือ(MOU) พัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภคในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

บันทึกความร่วมมือพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภค ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

การจัดตั้งศูนย์พิทักษ์สิทธิผู้บริโภค อบต.ควนรู

รูแบบงานคุ้มครองผู้บริโภคในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สคบ. ตั้งคณะอนุกรรมการ ตั้งศูนย์รับเรื่องร้องเรียน ไกล่เกลี่ย เทศบาล/อบต. กองทุนหลักประกัน กองทุนออมทรัพย์ อนุกรรมการ สคบ.อบต. นายกประธาน ปลัด เลขา แหล่งทุนอื่น สสจ. ระบบข้อมูล พัฒนาศักยภาพ ขยายเครือข่าย เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน คณะทำงานศูนย์ ประธาน............................. กรรมการ.......................... เลขานุการ.......................... จัดการข้อมูล พัฒนาศักยภาพ เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ ร้องเรียน ไกล่เกลี่ย ประสานงาน สื่อสารสาธารณะ

โครงสร้างศูนย์พิทักษ์สิทธิผู้บริโภค ควนรู คณะกรรมการที่ปรึกษา หัวหน้าอนามัย สาธารณสุขอำเภอ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล สจรส.มอ. กำนัน ,นายก อบต. หัวหน้าศูนย์พิทักษ์สิทธิผู้บริโภค พ.ต.อ.เติม อินทะสะระ เจ้าหน้าที่ประสานงานศูนย์ นายพิพัฒน์พงศ์ แก้วสุวรรณ เฝ้าระวังสินค้า รับเรื่องร้องเรียน พัฒนาศักยภาพ สื่อสารสาธารณะ จัดการข้อมูล ยุพิน กิติลีลา อดิศักดิ์ มาลัย พจณี สุวรรณเวหา สุณีย์ บุญสม พชรฌร จันทกูล จิตคำนึง เพ็งบุญ ระวิวรรณ สุวรรณมณี ปรเมศ เพชรสุวรรณ ธีรวิชญ์ จันทกูล วิเชียร บัวสม จิรพัฒน์ บุระชัด 05/04/60

แผนงานศูนย์พิทักษ์สิทธิผู้บริโภค ควนรู กิจกรรม งบประมาณ 1.พัฒนาศักยภาพผู้บริโภค และเครือข่าย 1.1อบรมแกนนำศูนย์พิทักษ์ฯ/ผู้บริโภค/ผู้ประกอบการ -บทบาท ขอบเขตงาน หน้าที่ ความรู้พื้นฐานงาน คบ. -เทคนิคการตรวจสินค้าและเฝ้าระวังสินค้า -เทคนิคการรับเรื่องร้องเรียน ไกล่เกลี่ย ประสานงาน กฎหมายควรรู้ -ความรู้หลักการเลือกบริโภคสินค้า บริการ สัญญา 1.2อบรมผู้ประกอบการอาหาร 1 ครั้ง 1.3 สมัชชาคนควนรู รู้ทันบริโภค 1 ครั้ง 05/04/60

แผนงาน กิจกรรม งบประมาณ 2.เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์/ภัยผู้บริโภค 2.1การตรวจสอบผลิตภัณฑ์ 1.ตรวจสอบร้านชำ 2 ครั้ง/ปี 2.ตรวจสอบร้านอาหาร/แผงลอย 2 ครั้ง/ปี (อาหารสะอาด รสชาติอร่อย) 3.ตรวจสอบตลาดนัด(เปิดท้าย)....ครั้ง/ปี 4.ตรวจสอบผู้ผลิตอาหารในหมู่บ้าน....ครั้ง/ปี 5.ตรวจสอบร้านค้าหน้าโรงเรียน....ครั้ง/ปี 2.2 เวทีนำเสนอข้อมูลผลการตรวจสอบและเสนอแนวทางแก้ไข 2.3 การมอบป้ายคุณภาพจากศูนย์ฯ(ร้านชำคุณภาพ,ร้านอาหารคุณภาพ, 2.4 การแจ้งข้อมูลผลการตรวจผ่านสื่อ วารสาร อบต. 05/04/60

แผนงาน กิจกรรม งบประมาณ 2.เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์/ภัยผู้บริโภค ช่องทางเตือนภัย -วิทยุเครื่องแดง -วิทยุพระพุทธศาสนา -หอกระจายข่าวชุมชน (ซ่อมแซม) -ปากต่อปาก 05/04/60

แผนงาน กิจกรรม งบประมาณ 3.การรับเรื่องร้องเรียนปัญหาผู้บริโภค 3.1 พัฒนาช่องทางรับเรื่องร้องเรียน 1.ตู้แดงรับเรื่องร้องเรียน 2.โทรศัพท์ 3.จดหมาย 4.ร้องเรียนด้วยตนเองที่ศูนย์ฯ(มีแบบฟอร์มรับเรื่องร้องเรียน) เจ้าหน้าที่/อาสาสมัคร 5.วิทยุพระพุทธศาสนา 3.2เวทีรับฟังปัญหาผู้บริโภคในการประชุมประจำเดือนของท้องถิ่น 3.3 เวทีประชาคมหมู่บ้าน เดือนละครั้ง 3.4 นำเสนอสถิติเรื่องร้องเรียน ประเด็นเรื่องร้องเรียนในการประชุมของ อบต. 3.5 สรุปผลการทำงานของศูนย์ฯ 3 เดือนครั้ง และภาพรวมในการนำเสนองบประมาณ(ศูนย์ฯ) 05/04/60

แผนงาน กิจกรรม งบประมาณ 4.การสื่อสารประชาสัมพันธ์ ช่องทางประชาสัมพันธ์ 1.ป้ายไวนิล (แนะนำศูนย์ เตือนภัย) 2.สติกเกอร์ 3.สปอตประชาสัมพันธ์วิทยุชุมชน 4.เวทีประชุมหมู่บ้าน 5.โฆษกในงาน บวช งานแต่ง งานสำคัญ 6.หอกระจายข่าวหมู่บ้าน 7.วารสาร อบต. รายการ.....ผู้บริโภคทางวิทยุชุมชน เสื้อแจก ประชาสัมพันธ์ทางนักเรียน – ผู้ปกครอง เวทีประชุม อสม. เวทีมอบเงินยังชีพผู้สูงอายุ 05/04/60

5.การจัดการข้อมูลงานคุ้มครองผู้บริโภค ประเภทข้อมูล แผนงาน กิจกรรม งบประมาณ 5.การจัดการข้อมูลงานคุ้มครองผู้บริโภค ประเภทข้อมูล -ร้านค้า/ร้านชำ ตลาด ร้านอาหาร แผงลอย แหล่งปลูกผลิต สินค้าโอท็อป สถานการณ์ การรู้จักสิทธิผู้บริโภค การจัดการกับปัญหา ความรู้พื้นฐานเรื่องคุ้มครองผู้บริโภค สถานการณ์ร้องเรียน การแก้ปัญหา สถานการณ์การบริโภคในครัวเรือน(ใช้ของแบบใด ถูกต้อง การตรวจสอบเฝ้าระวังผู้ประกอบการ(ตลาด ร้านชำฯ) แหล่งข้อมูลความรู้เรื่องบริโภค วารสารฉลาดซื้อ บอร์ดประชาสัมพันธ์ จัดเนื้อหาความรู้ด้านการบริโภค เว็บไซต์ อบต. 05/04/60