การใช้หลักศาสนา ฝ่าวิกฤติชีวิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กรรม 2 สาย กรรมดำ กรรมขาว การฆ่า การฉ้อโกง การล่วงเกินสิทธิ์
Advertisements

ทุกข์หลุด เพราะปล่อย. ทุกข์หลุด เพราะปล่อย.
ส่งการบ้านในระบบ E-laering
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
ชีวิตคืออะไร ? ชีวิตตามสภาพของมันเอง ขันธ์ 5 เป็นส่วนประกอบของชีวิต
การดำเนินชีวิตอย่างมีอุดมคติ
2 ข้อนี้จัดเข้าในปัญญา
สื่อช่วยสอน สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง เบญจศีล – เบญจธรรม
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
รักทางพุทธศาสนา.
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
สำหรับผู้บริหารท้องถิ่น ผู้ว่าราชการจังหวัดตรัง
บุญ.
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
ศาสนาเชน นักอหิงสาต่อความศักดิ์สิทธิ์ของชีวิต
เรื่อง วัฏฏะ 3 อาหารเสริมของวัยรุ่น
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
มงคลชีวิต อย่านอนตื่นสาย อย่าอายทำกิน อย่าหมิ่นเงินน้อย อย่าคอยวาสนา
ชีวิตเป็นกระบวนการ (Process) อันยืดยาว
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
สถาบันการศึกษา.
ประวัติพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเกิดที่ประเทศอินเดีย ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี เกิดหลังศาสนาพราหมณ์ ๖๐๐ ปี ก่อนศาสนาคริสต์ ๕๔๓ ปี ก่อนศาสนาอิสลาม ๑,๑๒๔.
จดหมายข่าว KM สำนักวิชาการ
๐๑-คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับผู้บริหาร
กรมส่งกำลังบำรุงทหาร
คุณธรรมสำหรับผู้ปกครอง 10 ประการ ดังนี้
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
แนวคิดและทฤษฎีทางจริยธรรม
การปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธ
สันโดษ... เคล็ดลับของความสุข
**สูตรนำไปสู่ความสำเร็จ**
อิทธิบาท ๔ บรรยายโดย อ.พงศ์สฎา เฉลิมกลิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
สังคหวัตถุ 4 บรรยายโดย อ.พงศ์สฎา เฉลิมกลิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน บ้านโนนชัย ถนนราษฎร์คนึง ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น.
เจาคันธีสถูป อนุสรณ์แสดงว่า พระพุทธองค์ได้เสด็จจากพุทธคยา
ไตรลักษณ์.
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
มาตรฐานชีวิตชาวพุทธ วางรากฐานชีวิต ทำชีวิตให้ถึงจุดหมาย.
เกราะ ๕ ชั้น และ คุณธรรม ๔ ประการ
พระป่า และ คำสอน ชุด ๑.
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
Ombudsman Talk.
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?
วิชาธรรมศึกษา จัดทำโดย พระ บุญมี อนามโย วัดคลองมะนาว.
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
Download ใน หรือ
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
วันอาสาฬหบูชา.
สมุทัย ธรรมที่ควรละ.
บทที่ 9 ศิลปะในการทำงานอย่างมีความสุข
การบริหารจิต.
การใช้อำนาจและอิทธิพล
มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ศาสนาพุทธ เรื่อง ฆราวาสธรรม ๔ จัดทำโดย
งาน กำหนดกรอบ บรรยาย เคลื่อนไ หว อาชี พ ชีวิต เป็ น อยู่ ปรากฏความ เปลี่ยนแปลง เป็น ครู ข้าราชการครู พนักงา นรัฐ สอ น แนะ นำ เสนอ แนวคิด กำกับงานของ Stu-
การรู้สัจธรรมของชีวิต
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
                                                                                       
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
เรื่อง ประวัติและความสำคัญ ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
อริยสัจ 4.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
พระครูพิศิษฏ์คณาทร วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร
อริยสัจ 4 ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ เป็นรากฐานของคำสอนทั้งมวล ที่ทำให้ผู้เข้าถึง กลายเป็น อริยบุคคล มีดังต่อไปนี้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้หลักศาสนา ฝ่าวิกฤติชีวิต พญ.ผกา วราชิต นายกสมาคมแม่บ้านสาธารณสุข

งาน ปัจจัย ๔ เงิน วิกฤติ สุขภาพ สังคม ครอบครัวญาติมิตร

งาน อิทธิบาท ๔ :- ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา สัมมาอาชีพ :- กายสุจริต อิทธิบาท ๔ :- ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา สัมมาอาชีพ :- กายสุจริต วจีสุจริต

เงิน รู้จักหา (ขยันหาทรัพย์โดยสุจริต) รู้จักหา (ขยันหาทรัพย์โดยสุจริต) รู้จักใช้ (ใช้ ๑ ส่วน, งาน ๒ ส่วน, ออม ๑ ส่วน) รู้จักออม (ภูมิคุ้มกัน) รู้จักพอ (จ่ายน้อยกว่ารับ, ไม่เป็นหนี้) เว้นอบายมุข ๖ (ทางเสื่อมแห่งโภคทรัพย์:- ดื่มน้ำเมา, เที่ยวกลางคืน, ดูการละเล่น, เล่น การพนัน, คบมิตรชั่ว, เกียจคร้าน)

ปัจจัย๔ อาหาร เพื่อบำบัดทุกขเวทนาเก่า และไม่สร้าง ทุกขเวทนาใหม่ อาหาร เพื่อบำบัดทุกขเวทนาเก่า และไม่สร้าง ทุกขเวทนาใหม่ เครื่องนุ่งห่ม เพื่อป้องกันหนาวร้อน และปกปิดความ ละอาย ที่อยู่อาศัย เพื่อกันอันตรายจากแดดลม อากาศ สัตว์เลื้อยคลานฯ ยารักษาโรค เพื่อรักษาธาตุขันธ์ให้พออยู่ได้

สุขของคฤหัสถ์ สุข เกิดแต่ความมีทรัพย์ สุข เกิดแต่การจ่ายทรัพย์บริโภค สุข เกิดแต่ความมีทรัพย์ สุข เกิดแต่การจ่ายทรัพย์บริโภค สุข เกิดแต่ความไม่ต้องเป็นหนี้ สุข เกิดแต่ประกอบการงานที่ ปราศจากโทษ

สังคม ญาติมิตร เว้นกายทุจริต (ฆ่าสัตว์, ลักทรัพย์, ผิดกาม) เว้นวจีทุจริต (พูดปด, หยาบคาย, ส่อเสียด, เพ้อเจ้อ) เว้นอคติ๔ (ลำเอียงเพราะรัก, ชัง, เขลา, กลัว) ** วาจาสุภาษิต :- พูดถูกกาล, สัจจะ, อ่อนหวาน, เป็นประโยชน์, ด้วยเมตตา).................................................

สังคหวัตถุ ๔ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตา

ธรรมเพื่อความสุขในปัจจุบัน ถึงพร้อมด้วยความหมั่น ถึงพร้อมด้วยการรักษา กัลยณมิตตตา (คบหาผู้มีศรัทธา, ศีล, จาคะ, ปัญญา) สมชีวิต (เลี้ยงชีวิตตามสมควรแก่ทรัพย์)

โลกธรรม ๘ ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข (กามสุข) เสื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทา ทุกข์ (ไม่สบายกาย, ไม่สบายใจ

ไม่เที่ยง ไม่ควรยินดี ยินร้าย โลกธรรม ๘ (ต่อ) อยากได้ ทุกข์ ไม่อยากเจอ ไม่ได้ สูญเสีย วิกฤติ ประสบ ไม่เที่ยง ไม่ควรยินดี ยินร้าย

ไม่ยอมรับสิ่งที่เกิดขึ้น ไม่รู้ = อวิชชา สัจจธรรม ธรรมชาติของชีวิต ไม่ยอมรับสิ่งที่เกิดขึ้น (ฝืนความเป็นจริง) ทุกข์ใจ/วิกฤติ

ธรรมชาติของชีวิต อริยสัจ ๔ ไตรลักษณ์ ปฏิจจสมุปบาท (ความเป็นเหตุปัจจัย)

ปฏิจจ. วัฏฏสงสาร อวิชชา สังขาร กิเลส กรรม วิญญาณ มรณะ โสกะฯ อดีตเหตุ นามรูป วิบาก ปฏิจจ. วัฏฏสงสาร อนาคตผล ปัจจุบันผล สฬายนตะ ชาติ ชรา วิบาก ปัจจุบันเหตุ* ผัสสะ กรรม เวทนา กิเลส ภพ ตัณหา อุปทาน

เชื่อ / รู้สัจจธรรม / ธรรมชาติของชีวิต * ยอมรับสิ่งที่เกิดขึ้น (วิบาก) ในปัจจุบัน ไม่ทุกข์ใจเพิ่มขึ้น มีปัญญาแก้ไขปัญหา

หาสาเหตุของปัญหา (เหตุปัจจัย) ปัญญาแก้ปัญหาวิกฤติ หาสาเหตุของปัญหา (เหตุปัจจัย) ปัจจัยภายในตัวเราเอง ปัจจัยภายนอก ถ้าแก้ไขไม่ได้ ยอมรับ ปล่อยวาง แก้ไขได้ ทำปัจจุบันให้ดีที่สุด

ไตรลักษณ์ สามัญญลักษณะ อนิจจัง ความไม่เที่ยง ทุกขัง ทุกข์, ทนได้ยาก อนัตตา ไม่ใช่ตัวตน บังคับบัญชาไม่ได้

กิเลส, ตัณหา, อุปทาน, อวิชชา, มานะ, ทิฐิ อริยสัจ ๔ ทุกข์ กาย ใจ รู้ สมุทัย กิเลส, ตัณหา, อุปทาน, อวิชชา, มานะ, ทิฐิ ละ นิโรธ ความดับทุกข์ (ตัณหา) แจ้ง มรรค ทางดับทุกข์ เจริญ

ทุกข์ = อุปาทานขันธ์ ๕ ทุกข์ใจ - ไม่สบายใจ, คับแค้นใจ ทุกข์ - ประจำกาย ทุกข์ = อุปาทานขันธ์ ๕ ทุกข์ - ประจำกาย - เกิด แก่ เจ็บ ตาย ทุกข์ใจ - ไม่สบายใจ, คับแค้นใจ - พลัดพรากจากสิ่งที่รัก - ประสบสิ่งที่ไม่ชอบ - คร่ำครวญ พิไรรำพัน

อภิณปัจจเวกขณ์ ๕ ควรพิจารณาเนืองๆ ทุกวันว่า เรามีความแก่เป็นธรรม ไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้ เรามีความเจ็บเป็นธรรม ไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้ เรามีความตายเป็นธรรม ไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้ เราต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น เรามีกรรมเป็นของตน ทำกรรมใดไว้ย่อมได้รับผลของ กรรมนั้น

ทุกข์มีเพราะยึด ทุกข์ยืดเพราะอยาก ทุกข์มากเพราะพลอย ทุกข์น้อยเพราะหยุด ทุกข์หลุดเพราะปล่อย

กระทำ ดำริ วาจา ปัญญา ความเห็น ศีล มรรค ๘ อาชีพ สมาธิ สมาธิ เพียร สติ

มีความเห็นถูก ? เห็นทุกข์ รู้ทุกข์ + สาเหตุ ? ตั้งใจจะละกิเลสตัณหาฯ ? ตั้งใจจะละเจริญมรรค (ศีล สมาธิ ปัญญา) ?

การปฏิบัติ ศึกษา เห็นถูก, ดำริถูก รู้แนวทาง - รักษาศีล - เจริญภาวนา ศึกษา เห็นถูก, ดำริถูก รู้แนวทาง การปฏิบัติ - รักษาศีล - เจริญภาวนา วิปัสสนากรรมฐาน สติปัฎฐาน๔