5.3 เกณฑ์การประเมินคุณภาพสถานศึกษาของ (สมศ.)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การอำนวยการ และ การสั่งงาน(Directing and Issuing comands)
การประเมินคุณภาพศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้น ป.3 ภาคความรู้ ปีการศึกษา 2554 การประเมินคุณภาพศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้น ป.3 ภาคความรู้ ปีการศึกษา 2554 วิช า ร้อยละ.
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การประเมินบุคคล
การพัฒนาหลักสูตรสถานเลี้ยงเด็ก
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
ความสวยงาม การตกแต่ง คำแปล ภาษาจีน
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
พันธกิจและแนวทางพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพภายนอก โดยใช้รูปแบบกัลยาณมิตร
งานธุรการ.
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
เลื่อนขั้นค่าตอบแทน และค่าตอบแทนพิเศษ พนักงานราชการ.
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
บทบาทของโรงเรียน ในการนำการเปลี่ยนแปลงมาสู่ชุมชน
เปรียบเทียบหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๔๔ กับหลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑
การคัดเลือกฯ ตาม ว 28/2547.
ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน Performance Management System: PMS และ หลักการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล Individual Development Plan : IDP.
การประเมินผลการเรียน
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
ผลงาน ความรู้ ความคิดของผู้เรียน ทักษะ การปฏิบัติ ของผู้เรียน คุณลักษณะ ค่านิยม คุณธรรม ของผู้เรียน.
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
ความดีเด่นของสถานศึกษา
ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม.๔๒
1. เพื่อติดตามผลการประเมินมาตรฐาน การศึกษา ที่ได้ระดับคุณภาพพอใช้และ ปรับปรุง ที่ได้ระดับคุณภาพพอใช้และ ปรับปรุงพอใช้ 2. เพื่อติดตามการดำเนินงานระบบประกัน.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
การพัฒนาคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาไทย ปี ๒๕๕๓
ระบาดวิทยาและ SRRT.
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาเพื่อ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เทียบปี 2551 สาระ ร้อยละ.
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
การประเมินผู้ที่มีผลงานดีเด่น ที่ประสบความสำเร็จเป็นที่ประจักษ์
ว 5/2554.
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
บทบาทนายหมายเลข ๑ ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหาร ผู้นำ ผู้ประสานงาน.
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
กลุ่มวิจัยและพัฒนาสหกรณ์
1 ครูได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะผ่านการปฏิบัติจริง และความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
การพัฒนาทักษะพื้นฐานเบื้องต้นในการแกะสลักผักและผลไม้แบบร่วมมือกันของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาการโรงแรม ผู้วิจัย : นางสาวรุ่งราตรี
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
เรื่อง การมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล
การใช้ผลการสอบขับเคลื่อนการ จัดการเรียนการสอน 1. วิเคราะห์ผลการทดสอบ ระดับชาติ (NT, O-NET) H 1 คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ S.D. น้อยกว่าระดับประเทศ H.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การทำแฟ้มสะสมผลงาน.
‘การบริหารผล’ การปฏิบัติราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

5.3 เกณฑ์การประเมินคุณภาพสถานศึกษาของ (สมศ.) 5.3.1 ระดับคุณภาพสถานศึกษามี 3 ระดับ ระดับ 3 ดี ระดับ 2 พอใช้ ระดับ 1 ควรปรับปรุง

ระดับ ความหมาย ดี ผลประเมินได้มาตรฐานคุณภาพ ระดับดี พอใช้ ผลประเมินได้มาตรฐานคุณภาพผ่าน เกณฑ์ขั้นต่ำ แต่ไม่ถึงดีหรือได้ผล ประเมินต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานแต่มี ความตระหนักและความพยายาม หรือ การปฏิบัติอย่างเด่นชัด

ระดับ ความหมาย ควรปรับปรุง ผลประเมินไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำและ ไม่มีความพยายาม หรือการปฏิบัติที่ ชัดเจนโดยอาจมี หรือไม่มีความ ตระหนักก็ได้

6. การตัดสินระดับสัมฤทธิผลหรือผลสำเร็จทางการดำเนินงาน 6.1 คุณภาพของบุคคล 6.1.1 คุณภาพของผู้เรียน ระดับ 1 ปริมาณของนักเรียนที่มีคุณภาพดีมีค่า <50% ของนักเรียนทั้งหมด ระดับ 2 ปริมาณของนักเรียนที่มีคุณภาพดีมีค่าระหว่าง 50% - 74%ของครูทั้งหมด ระดับ 3 ปริมาณของนักเรียนที่มีคุณภาพดีมีค่าตั้งแต่ 75% ของนักเรียนทั้งหมด

6.1.2 คุณภาพของครู ระดับ 1 ปริมาณของครูที่มีคุณภาพดีมีค่า <50% ของครูทั้งหมด ระดับ 2 ปริมาณของครูที่มีคุณภาพดีมีค่าระหว่าง 50% - 74% ของครูทั้งหมด ระดับ 3 ปริมาณของครูที่มีคุณภาพดีมีค่าตั้งแต่ 75% ของครูทั้งหมด

6.1.3 คุณภาพของผู้บริหาร สถานศึกษาที่ผู้บริหารมีคุณสมบัติ / ลักษณะตามตัวบ่งชี้อยู่ในระดับดี (เทียบเท่าเกรด 3 หรือ 4) หรือมีคุณสมบัติที่ดีจำนวน 8 ข้อรายการจากจำนวนข้อที่ประเมิน 10 ข้อ (80%-100%) ถือว่าสถานศึกษานั้นมีผู้บริหารที่ดีตามมาตรฐานนั้น และหากผู้บริหารสามารถบริหารจนมีปัจจัยในการจัดการศึกษาได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ก็จะถือว่าบริหารนั้นมีคุณภาพดี

6.2 คุณภาพของกระบวนการดำเนินงานในสถานศึกษา 6.2 คุณภาพของกระบวนการดำเนินงานในสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาที่สามารถบริหารงานให้เกิดกระบวนการตามที่พึงประสงค์ถือว่าผู้บริหารนั้นมีคุณภาพดี เกณฑ์การตัดสินมีดังต่อไปนี้ การทำให้เกิดกระบวนการที่พึงประสงค์ในสถานศึกษาถือว่ามีระดับคุณภาพดี กระบวนการดำเนินงานที่เกิดขึ้นในสถานศึกษาเป็นการดำเนินงานแบบทั้งโรงเรียน (school wide) ซึ่งมีคุณสมบัติ 3 ประการ ได้แก่ (1) ความสามารถในการบริหารงานให้เกิดการทำงานแบบมีส่วนร่วม (2) การบริหารให้เกิดความต่อเนื่อง / ความยั่งยืนของการดำเนินงาน (3) การบริหารให้เกิดการเรียนรู้ของบุคลากรในสถานศึกษา

เกณฑ์การประเมินมาตรฐานเกี่ยวกับผู้เรียน ระดับ 1 ควรปรับปรุง ระดับ 2 พอใช้ ระดับ 3 คุณภาพดี สัมฤทธิ์ผลและคุณภาพของผู้เรียนไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ และไม่มีร่องรอยของความพยายามโดยอาจมีหรือไม่มีร่องรอยของความตระหนัก 1.สัมฤทธิ์ผลและคุณภาพของผู้เรียนผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ หรือ 2. สัมฤทธิ์ผลและคุณภาพของผู้เรียนไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ แต่มีร่องรอยของความพยายามและความตระหนัก สัมฤทธิ์ผลและคุณภาพของผู้เรียนผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ และอยู่ในระดับดี

เกณฑ์การประเมินมาตรฐานเกี่ยวกับครู ระดับ 1 ควรปรับปรุง ระดับ 2 พอใช้ ระดับ 3 คุณภาพดี สัมฤทธิ์ผลของครูไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ และไม่มีร่องรอยของความพยายาม โดยอาจมีหรือไม่มีร่องรอยของความตระหนัก 1.สัมฤทธิ์ผลของครูผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ หรือ 2. สัมฤทธิ์ผลของครูไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ แต่มีร่องรอยของความพยายามและความตระหนัก สัมฤทธิ์ผลของครูผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ และอยู่ในระดับดี

เกณฑ์การประเมินมาตรฐานเกี่ยวกับผู้บริหาร ระดับ 1 ควรปรับปรุง ระดับ 2 พอใช้ ระดับ 3 คุณภาพดี สัมฤทธิ์ผลของผู้บริหารไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ และไม่มีร่องรอยของความพยายาม โดยอาจมีหรือไม่มีร่องรอยของความตระหนัก 1.สัมฤทธิ์ผลของผู้บริหารผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ หรือ 2. สัมฤทธิ์ผลของผู้บริหารไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ แต่มีร่องรอยของความพยายามและความตระหนัก สัมฤทธิ์ผลของผู้บริหารผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ และอยู่ในระดับดี