ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดกิจกรรมโครงการฯ
Advertisements

เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อทบทวนแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด 4 ปี (พ.ศ – 2561) ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2556.
เศรษฐกิจ พอเพียง.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
วิสัยทัศน์ มุ่งสู่สังคมคุณภาพบนพื้นฐานความรับผิดชอบร่วมกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มกราคม 2552.
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
HR Way Organization Chart HRM HR Strategy Job Description HR Scorecard
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
แผนงาน/โครงการที่สำคัญของกรมส่งเสริมสหกรณ์
นโยบายและการขับเคลื่อน
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2552.
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
แผนยุทธศาสตร์สำนักงานประมงจังหวัดปทุมธานี
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
รูปแบบแผนชุมชน.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
วิสัยทัศน์ Vision สหกรณ์ที่มีความมั่นคงทาง เศรษฐกิจ สังคม รักษ์สิ่งแวดล้อม นำพาคนสหกรณ์มีความสุข.
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
ปฏิรูปที่ดิน ปฏิรูปเกษตรกร Management reform
การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”. การพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ “ยั่งยืน”
1 ยุทธศาสตร์การสนับสนุน การวิจัยของ สกว. ปี วุฒิพงศ์ เตชะดำรงสิน รองผู้อำนวยการ สกว. jscom/ ยุทธศาสตร์การสนับสนุนการวิจัย
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
พิจารณาทบทวนปรับ ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบนกลุ่ม 3
OSM ประชาชนในกลุ่มจังหวัดได้รับประโยชน์สูงสุด
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ประชุมชี้แจงแนวทางการเตรียมการจัดทำ แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
SPATIAL PLANING : SGA-PEI รศ. ดร
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ IMT - GT ในภาพรวม และ Best Practice IMT – GT Plaza แห่งแรก โดย นายสุกิตติ ธนพิทักษ์ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสงขลา.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
นโยบายและการ ขับเคลื่อน วัตถุประสงค์ หลัก.
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
การทบทวน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัด ปทุมธานี พ. ศ
วิสัยทัศน์ทางการค้า ศูนย์กลางการค้า การลงทุน การท่องเที่ยวครบวงจร.
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน เครือข่ายสภาวัฒนธรรม
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
วิสัยทัศน์ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอ ภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง”
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
กลุ่มที่ กลุ่มที่ 9 สองแคว โครงการส่งเสริม สินค้าเกษตรที่ ปลอดภัยและได้ มาตรฐาน ( ข้าว ) วิทยากรประจำกลุ่ม อ. พล ภัทร วารี ผู้ช่วยวิทยากร นาย สมชาย ชะฎาดำ.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี การส่งเสริมพัฒนากลุ่ม อาชีพ ( พื้นฐาน ) เจ้าภาพ กพส. ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ สนับสนุนปัจจัยการผลิต.
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม

จังหวัดมหาสารคาม ประชากร 945,149 คน 13 อำเภอ 133 ตำบล 1,944 หมู่บ้าน 13 อำเภอ 133 ตำบล 1,944 หมู่บ้าน พื้นที่ทั้งหมด 5,291.683 ตารางกิโลเมตร

วิสัยทัศน์ จังหวัดมหาสารคามเป็นฐานการผลิตและแปรรูป ผลผลิตด้านการเกษตร เพื่อสร้างความมั่นคง ให้แก่อุตสาหกรรมอาหารและพลังงานทดแทน ของประเทศ ประชาชนอยู่ดีมีสุขในสังคม คุณภาพ ปี 255 7 3

Positioning ปี 2557 ข้าวหอมมะลิ มันสำปะหลัง โคเนื้อ ผลิตภัณฑ์เสื่อกก ผ้าไหมสร้อย ดอกหมาก ท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรม การบริการ การศึกษา 4

ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ประเด็นยุทธศาสตร์ ปี 2557 1. ปรับโครงสร้างการผลิตให้เอื้อต่อการผลิตและการแปรรูป เกษตรอาหารและเกษตรพลังงานทดแทน 2. ส่งเสริมอุตสาหกรรม เกษตรกรรม พาณิชยกรรม และการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และคำนึงถึงการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุล 3. ยกระดับมาตรฐานการครองชีพและคุณภาพชีวิตของ ประชาชน 4. สร้างสังคมเอื้ออาทรและสมานฉันท์

เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ปรับโครงสร้างการผลิตให้เอื้อต่อการ ผลิตและการแปรรูปเกษตรอาหารและเกษตรพลังงาน ทดแทน เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ เพิ่มปริมาณผลผลิตทางการเกษตร และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับจังหวัด ส่งเสริมและพัฒนาการผลิตเกษตร อาหาร และเกษตรพลังงานทดแทน เพิ่มมาตรฐานการผลิตสินค้าให้ได้คุณภาพและปลอดภัย ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร ปลอดภัย และได้มาตรฐาน สร้างความเข้มแข็งให้แก่กลุ่มเกษตรกรกลุ่มสหกรณ์ และกลุ่มอาชีพ เสริมสร้างความเข้มแข็งและ ศักยภาพให้แก่กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์และกลุ่มอาชีพ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร น้ำและดินเพื่อการเกษตร พัฒนาระบบการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำและดินเพื่อการเกษตร ให้มีประสิทธิภาพ 6

เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมอุตสาหกรรม เกษตรกรรม พาณิชยกรรมและการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม และคำนึงถึงการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุล เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ เพิ่มปริมาณและปัจจัยที่เอื้อต่อการลงทุน พัฒนาปัจจัยพื้นฐานให้เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และการท่องเที่ยวในจังหวัด ผลิตภัณฑ์ชุมชนเกษตรแปรรูปและผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการเกษตรได้รับรองมาตรฐานเพิ่มช่องทางการตลาด ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูป และการตลาด เพิ่มรายได้จากการบริการด้านการท่องเที่ยว ฟื้นฟูและพัฒนาสถานที่ท่องเที่ยวเพื่อพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยว สิ่งแวดล้อมอยู่ในสภาวะสมดุล ป้องกันและแก้ไขมลภาวะจากอุตสาหกรรม และเกษตรอย่างเป็น ระบบ สร้างความสมบูรณ์ของฐานทรัพยากรธรรมชาติ

เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับมาตรฐานการครองชีพและ คุณภาพชีวิตของประชาชน เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ เพิ่มระดับมาตรฐานการครองชีพของประชาชนในพื้นที่ให้ดีขึ้นตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง เพิ่มทักษะแรงงานให้ได้มาตรฐาน สร้างรายได้จากอาชีพเสริมและลด รายจ่ายเพื่อยกระดับมาตรฐานการ ครองชีพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน เพื่อความ มั่นคงทางอาชีพ 8

เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างสังคมเอื้ออาทรและสมานฉันทร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ เพิ่มคนดี ครอบครัวเข้มแข็ง ตาม แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ปลูกฝังค่านิยมด้านคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรมที่ดีงาม และสำนึกสาธารณะ ให้แก่ประชาชน เพิ่มความสมานฉันท์ ให้เกิดขึ้นใน สังคม ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่ดีงาม ของสังคมและสร้างความสมานฉันท์ให้ เกิดความมั่นคงในพื้นที่ เพิ่มความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ของประชาชน จัดระเบียบชุมชนให้มีความสงบเรียบร้อย เพื่อให้เกิดความมั่นคงในสังคม 9

Value Chain แผนงานส่งเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสินค้าเกษตรได้มาตรฐาน (ข้าวหอมมะลิ) ต้นน้ำ : การผลิต กลางน้ำ : การแปรรูปและเพิ่มมูลค่า ปลายน้ำ : การตลาด พัฒนากระบวนการผลิต พัฒนาการตลาด พัฒนาผลิตภาพการผลิต เชื่อมโยงเครือข่าย ตลาดสินค้า ข้าวคุณภาพของ จังหวัดมหาสารคาม กิจกรรมหลัก การจัด พื้นที่เกษตร (zoning) และ การรวมกลุ่ม เกษตรกร ส่งเสริมการผลิต ข้าวหอมมะลิปลอดภัย และได้มาตรฐาน GAP พัฒนาผลิตภัณฑ์ การจัดการความรู้ การแปรูปผลิตภัณฑ์ กิจกรรมย่อย การจัดระบบชลประทานในพื้นที่ สร้างตราสินค้าและ บรรจุภัณฑ์ข้าวชุมชน อบรม ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต แก่เกษตรกร เพิ่มช่องทางการตลาด การติดตามและประเมินผล สนับสนุนปัจจัยการผลิต