หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เสียง ข้อสอบ o-Net.
Advertisements

ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
การติดตั้ง เครื่อง visual หรือเครื่องฉายภาพ 3 มิติ
กิจกรรมที่ 1 ข้อตกลงการใช้งานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ร่วมกัน
Welcome to Electrical Engineering KKU.
การปฏิบัติการลดการใช้พลังงาน
เทคนิคการเชื่อมไฟฟ้า
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
วิชาการบริหารงานศูนย์สื่อการศึกษา
ลำโพง (Loud Speaker).
Bluetooth (ฟันสีฟ้า).
การใช้โสตทัศนูปกรณ์ในห้องเรียน
โสตทัศนูปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ข้อดี ข้อเสีย สายโคแอกเชียล มีความคงทนสามารถเดินสายใต้ดินได้
การดูแลรักษาเครื่องวิทยุคมนาคม
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
1 สวัสดีค่ะ Welcome.
6. เครื่องกราดตรง (scanner) เป็นอุปกรณ์ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ ที่มี หน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงภาพ ต้นฉบับ รูปถ่าย ตัวอักษรบน หน้ากระดาษ.
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
ช่างเทคนิคโตโยต้า>> เครื่องมือและเครื่องมือวัด
ข้อควรระวังในการใช้เครื่องวิทยุคมนาคม
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เตารีด คือ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่สามารถหยิบยกได้ ให้ความร้อนแผ่นฐานด้วยไฟฟ้าและใช้สำหรับรีดวัสดุสิ่งทอให้เรียบ ปัจจุบันมีการนำเอาสารเคลือบ เทฟลอนมาเคลือบแผ่นฐาน.
เตาไฟฟ้า.
เครื่องปั่นน้ำผลไม้.
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
กระทะไฟฟ้า                .
เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า
เตาไมโครเวฟ.
เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องโทรสาร, FAX
หลอดไฟฟ้า.
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
เครื่องปิ้งขนมปัง.
เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
เครื่องโปรเจคเตอร์PROJECTOR
เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท Notebook
หม้อสุกี้ไฟฟ้า.
เครื่องม้วนผม.
ไดร์เป่าผม.
ชุดรับสัญญาณจาก ดาวเทียม DTV ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ส่วนวิศวกรรม และซ่อมบำรุง 10/9/2014.
Magnetic Particle Testing
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
จัดทำโดย 1. ด. ญ. ศุภรดา จายประมูล เลขที่ ด. ญ. เกสรา อินลม เลขที่ ด. ญ. ณีรนุช สมศักดิ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/8 ชั้น ม.3/8.
การตรวจสอบการความสามารถ ในการกันเสียงของวัสดุต่างๆ
ปัญหาที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
สิ่งประดิษฐ์ตู้ส่องสภาพผ้าแบบประหยัด
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
การแก้ไขปัญหาทั่วไป จัดทำโดย นายจักรี จิระกิตติวุฒิ เลขที่ 13 นายจิรายุส สมวงค์อินทร์ เลขที่ 14 นายชนาธิป สมฟอง เลขที่ 15 นายชาญณฤทธิ์ มโนปัญญา เลขที่
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
หลักการบันทึกเสียง.
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
แบบดาว เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้น ใน โทโปโลยี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์ หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์ นางสาวชมพู่ เนตรกอบเกื้อ การบัญชี ปวส. 2/1 เลขที่ 7

เสียงของลำโพงออกมาได้อย่างไร ? เสียงเป็นคลื่นตามยาว  เสียงแหลมและทุ้มขึ้นกับความถี่  ส่วนเสียงดังหรือค่อยขึ้นอยู่กับขนาดแอมพลิจูดของคลื่นนั้น   ส่วนสำคัญที่สุดของเครื่องเล่นก็คือลำโพง  โดยหน้าที่สำคัญสุดของลำโพงคือ  เปลี่ยนสัญญาณทางไฟฟ้าที่ได้มาจากเครื่องขยายเป็นสัญญาณเสียง  ลำโพงที่ดีจะต้องสร้างเสียงให้เหมือนกับต้นฉบับเดิมมากที่สุด  โดยมีการผิดเพี้ยนน้อยที่สุด

ลำโพงประเภทต่าง ๆ เราจะแบ่งลำโพงโดยใช้ความถี่ออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ เราจะแบ่งลำโพงโดยใช้ความถี่ออกเป็น 3   ประเภท  ดังนี้ วูฟเฟอร์  (Woofers) ทวีทเตอร์ (Tweeters) มิดเรนส์ (Midrange)

วูฟเฟอร์ เป็นลำโพงที่มีขนาดใหญ่สุด ออกแบบมาเพื่อให้เสียงที่มีความถี่ต่ำ ทวีทเตอร์ เป็นลำโพงที่มีขนาดเล็กสุด ออกแบบมาเพื่อให้เสียงที่มีความถี่สูง มิดเรนส์ เป็นลำโพงขนาดกลาง ถูกออกแบบมาเพื่อให้เสียงในช่วงความถี่กลางๆ คือไม่สูงหรือไม่ต่ำ

วิธีใช้ระบบลำโพง

1. ลำโพงเต็มขอบเขต : ลำโพงเสริมจะรวมเต็มขอบเขตสามารถผลิตแถบความถี่ของเสียงแทบทั้งหมด ยกเว้นความถี่เสียงต่ำ 2. LED แสดงกระแสไฟฟ้า : เมื่อเปิดระบบลำโพงไฟเขียวจะสว่างขึ้นใน LED โดยทางลูกบิดปรับระดับเสียงใหญ่ของลำโพงเสริมข้างขวา 3. ลูกบิดปรับระดับเสียง/ สวิทช์เปิดปิด : ทำหน้าที่ปรับระดับเสียงใหญ่และสวิทช์ เปิดปิดด้วย เมื่อไฟเขียวสว่างขึ้น สามารถปรับระดับเสียงให้ดังขึ้นได้โดยหมุนไขทางเข็ม นาฬิกา 4. ช่องสายเข้าข้างซ้าย : ช่องต่อสายเข้าลำโพงเสริมข้างซ้าย สามารถต่อได้กับลำโพงเสริมข้าง ขวาโดยทางลำโพงข้างซ้ายซึ่งต่อมาจากลำโพงขวา

5. สายเคเบิลลำโพงซ้าย : เป็นสายเคเบิลที่ต่อจากลำโพงขวาไปที่ลำโพงเสริมข้างซ้าย ให้อ้างอิงรูปภาพ 1-2, 1-3 และ 1-4 6. สายเคเบิลลำโพงขวา : ถ่ายทอดกระแสไฟฟ้าและข้อมูลสัญญาณซ้ายและขวาจากซับวูเฟอรไปลำโพงขวา สำหรับตัวต่อ DIN ต่อกับเต้าเสียบซับวูเฟอร์ ลูกศรของตัวต่อ DIN ต้องหันทางเหนือ ให้อ้างอิงรูปภาพ 1-2, 1-3 และ 1-4 7. เสียง 3 ชั้น : ถ้าหมุนลูกบิดปรับทางเข็มนาฬิกาเครื่องจะเพิ่มกำลังแก่ความถี่ของสัญญาณเสียง เสียงจึงจะสว่างขึ้น 8. ระดับเสียงของซับวูเฟอร์ (ระดับเสียง a.k.a วูเฟอร์) : ถ้าหมุนลูกบิดไปทางเข็มนาฬิกา เครื่องจะเพิ่มระดับเสียงหรือระดับความต่ำของ เสียงที่มาจากซับวูเฟอร์เมื่อเปรียบเทียบกับลำโพง เสริม (หมายเหตุ : ลูกบิดปรับระดับเสียงจะส่งอิทธิพลต่อทั้งซับวูเฟอร์และลำโพงเสริม)

9. ซับวูเฟอร์ : ผลิตความถี่ต่ำสุดใหม่ 10 9. ซับวูเฟอร์ : ผลิตความถี่ต่ำสุดใหม่ 10. ช่องสายเข้าสเตอริโอ : ช่องต่อสายเข้าเสียงสเตอริโอสำหรับระบบลำโพง ใช้สายเคเบิลสเตอริโอต่อระบบลำโพงเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์หรือเซาวด์ การ์ด ให้อ้างอิงรูปภาพ 1-2, 1-3 และ 1-4 11. ช่องสายออกลำโพงเสริม : เป็นจุดที่ต่อลำโพงเสริมข้างขวากับ ซับวูเฟอร์ 12. สานไฟ : เสียบปลั๊กไฟที่เต้าเสียบไฟฟ้ากระแสสลับมาตรฐาน 13. ช่องสายเคเบิลเข้าสเตอริโอ (อุปกรณ์เสริม) : ใช้สายเคเบิลสเตอริโอต่อระบบลำโพงกับ เครื่องคอมพิวเตอร์หรือเซาวด์ การ์ด ให้อ้างอิงรูปภาพ 1-2, 1-3 และ 1-4

การดูแลรักษาลำโพงหรือสายนำสัญญาณ สายลำโพงหรือสายนำสัญญาณ ควรใช้ความยาวให้น้อยที่สุด สายลำโพงควรเผื่อไว้ประมาณ ครึ่งเมตร สำหรับการปรับแต่งความยาวที่เหมาะสมของสายลำโพงอยู่ที่ประมาณ 3-5 เมตร สายลำโพงควรติดตั้งวางสายไปในทิศทางเดียวกัน โดยอาจยึดลายพิมพ์ตัวอักษรเป็นทิศทางใต้ เพื่อให้ได้คุณภาพ สายลำโพงและสายนำสัญญาณ ควรรับอินสายสักระยะเวลาหนึ่งอย่างน้อย 50 ชม.

ไม่ควรรวบสายลำโพงสายสัญญาณต่าง ๆ และสาย AC จะมีสนามแม่เหล็กรบกวนการนำสัญญาณได้ หลีกเลี่ยงการหักมุมหรืองอสายสัญญาณ และสายลำโพงอย่างรุนแรง หมั่นถอดสายลำโพงและสายนำสัญญาณ ออกจากขั้วต่อเพื่อทำความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ ตรวจเช็คการเชื่อมต่อของสายนำสัญญาณและ สายลำโพงให้แน่นหนา

และเทคนิคสุดท้ายที่ควรรู้

เทคนิคการใช้สายลำโพงและสายสัญญาณให้มีประสิทธิภาพ ควรใช้สายสัญญาณและสายลำโพงให้มีความยาวพอเหมาะ สายสัญญาณและสายลำโพงซ้ายขวาควรยาวเท่ากัน ไม่ม้วนหรือขดสายสัญญาณ จะทำให้เกิดการเหนี่ยว นำทางไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงบุคลิกเสียงได้ หมั่นทำความสะอาดขั้วสายสัญญาณและสายลำโพงอย่างสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงการหักมุมสายสัญญาณ ให้ขั้วสัมผัสของปลั๊กและเครื่องเล่นแน่นหนา จบการนำเสนอแล้ว ขอบคุณค่ะ