หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์ หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์ นางสาวชมพู่ เนตรกอบเกื้อ การบัญชี ปวส. 2/1 เลขที่ 7
เสียงของลำโพงออกมาได้อย่างไร ? เสียงเป็นคลื่นตามยาว เสียงแหลมและทุ้มขึ้นกับความถี่ ส่วนเสียงดังหรือค่อยขึ้นอยู่กับขนาดแอมพลิจูดของคลื่นนั้น ส่วนสำคัญที่สุดของเครื่องเล่นก็คือลำโพง โดยหน้าที่สำคัญสุดของลำโพงคือ เปลี่ยนสัญญาณทางไฟฟ้าที่ได้มาจากเครื่องขยายเป็นสัญญาณเสียง ลำโพงที่ดีจะต้องสร้างเสียงให้เหมือนกับต้นฉบับเดิมมากที่สุด โดยมีการผิดเพี้ยนน้อยที่สุด
ลำโพงประเภทต่าง ๆ เราจะแบ่งลำโพงโดยใช้ความถี่ออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ เราจะแบ่งลำโพงโดยใช้ความถี่ออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ วูฟเฟอร์ (Woofers) ทวีทเตอร์ (Tweeters) มิดเรนส์ (Midrange)
วูฟเฟอร์ เป็นลำโพงที่มีขนาดใหญ่สุด ออกแบบมาเพื่อให้เสียงที่มีความถี่ต่ำ ทวีทเตอร์ เป็นลำโพงที่มีขนาดเล็กสุด ออกแบบมาเพื่อให้เสียงที่มีความถี่สูง มิดเรนส์ เป็นลำโพงขนาดกลาง ถูกออกแบบมาเพื่อให้เสียงในช่วงความถี่กลางๆ คือไม่สูงหรือไม่ต่ำ
วิธีใช้ระบบลำโพง
1. ลำโพงเต็มขอบเขต : ลำโพงเสริมจะรวมเต็มขอบเขตสามารถผลิตแถบความถี่ของเสียงแทบทั้งหมด ยกเว้นความถี่เสียงต่ำ 2. LED แสดงกระแสไฟฟ้า : เมื่อเปิดระบบลำโพงไฟเขียวจะสว่างขึ้นใน LED โดยทางลูกบิดปรับระดับเสียงใหญ่ของลำโพงเสริมข้างขวา 3. ลูกบิดปรับระดับเสียง/ สวิทช์เปิดปิด : ทำหน้าที่ปรับระดับเสียงใหญ่และสวิทช์ เปิดปิดด้วย เมื่อไฟเขียวสว่างขึ้น สามารถปรับระดับเสียงให้ดังขึ้นได้โดยหมุนไขทางเข็ม นาฬิกา 4. ช่องสายเข้าข้างซ้าย : ช่องต่อสายเข้าลำโพงเสริมข้างซ้าย สามารถต่อได้กับลำโพงเสริมข้าง ขวาโดยทางลำโพงข้างซ้ายซึ่งต่อมาจากลำโพงขวา
5. สายเคเบิลลำโพงซ้าย : เป็นสายเคเบิลที่ต่อจากลำโพงขวาไปที่ลำโพงเสริมข้างซ้าย ให้อ้างอิงรูปภาพ 1-2, 1-3 และ 1-4 6. สายเคเบิลลำโพงขวา : ถ่ายทอดกระแสไฟฟ้าและข้อมูลสัญญาณซ้ายและขวาจากซับวูเฟอรไปลำโพงขวา สำหรับตัวต่อ DIN ต่อกับเต้าเสียบซับวูเฟอร์ ลูกศรของตัวต่อ DIN ต้องหันทางเหนือ ให้อ้างอิงรูปภาพ 1-2, 1-3 และ 1-4 7. เสียง 3 ชั้น : ถ้าหมุนลูกบิดปรับทางเข็มนาฬิกาเครื่องจะเพิ่มกำลังแก่ความถี่ของสัญญาณเสียง เสียงจึงจะสว่างขึ้น 8. ระดับเสียงของซับวูเฟอร์ (ระดับเสียง a.k.a วูเฟอร์) : ถ้าหมุนลูกบิดไปทางเข็มนาฬิกา เครื่องจะเพิ่มระดับเสียงหรือระดับความต่ำของ เสียงที่มาจากซับวูเฟอร์เมื่อเปรียบเทียบกับลำโพง เสริม (หมายเหตุ : ลูกบิดปรับระดับเสียงจะส่งอิทธิพลต่อทั้งซับวูเฟอร์และลำโพงเสริม)
9. ซับวูเฟอร์ : ผลิตความถี่ต่ำสุดใหม่ 10 9. ซับวูเฟอร์ : ผลิตความถี่ต่ำสุดใหม่ 10. ช่องสายเข้าสเตอริโอ : ช่องต่อสายเข้าเสียงสเตอริโอสำหรับระบบลำโพง ใช้สายเคเบิลสเตอริโอต่อระบบลำโพงเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์หรือเซาวด์ การ์ด ให้อ้างอิงรูปภาพ 1-2, 1-3 และ 1-4 11. ช่องสายออกลำโพงเสริม : เป็นจุดที่ต่อลำโพงเสริมข้างขวากับ ซับวูเฟอร์ 12. สานไฟ : เสียบปลั๊กไฟที่เต้าเสียบไฟฟ้ากระแสสลับมาตรฐาน 13. ช่องสายเคเบิลเข้าสเตอริโอ (อุปกรณ์เสริม) : ใช้สายเคเบิลสเตอริโอต่อระบบลำโพงกับ เครื่องคอมพิวเตอร์หรือเซาวด์ การ์ด ให้อ้างอิงรูปภาพ 1-2, 1-3 และ 1-4
การดูแลรักษาลำโพงหรือสายนำสัญญาณ สายลำโพงหรือสายนำสัญญาณ ควรใช้ความยาวให้น้อยที่สุด สายลำโพงควรเผื่อไว้ประมาณ ครึ่งเมตร สำหรับการปรับแต่งความยาวที่เหมาะสมของสายลำโพงอยู่ที่ประมาณ 3-5 เมตร สายลำโพงควรติดตั้งวางสายไปในทิศทางเดียวกัน โดยอาจยึดลายพิมพ์ตัวอักษรเป็นทิศทางใต้ เพื่อให้ได้คุณภาพ สายลำโพงและสายนำสัญญาณ ควรรับอินสายสักระยะเวลาหนึ่งอย่างน้อย 50 ชม.
ไม่ควรรวบสายลำโพงสายสัญญาณต่าง ๆ และสาย AC จะมีสนามแม่เหล็กรบกวนการนำสัญญาณได้ หลีกเลี่ยงการหักมุมหรืองอสายสัญญาณ และสายลำโพงอย่างรุนแรง หมั่นถอดสายลำโพงและสายนำสัญญาณ ออกจากขั้วต่อเพื่อทำความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ ตรวจเช็คการเชื่อมต่อของสายนำสัญญาณและ สายลำโพงให้แน่นหนา
และเทคนิคสุดท้ายที่ควรรู้
เทคนิคการใช้สายลำโพงและสายสัญญาณให้มีประสิทธิภาพ ควรใช้สายสัญญาณและสายลำโพงให้มีความยาวพอเหมาะ สายสัญญาณและสายลำโพงซ้ายขวาควรยาวเท่ากัน ไม่ม้วนหรือขดสายสัญญาณ จะทำให้เกิดการเหนี่ยว นำทางไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงบุคลิกเสียงได้ หมั่นทำความสะอาดขั้วสายสัญญาณและสายลำโพงอย่างสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงการหักมุมสายสัญญาณ ให้ขั้วสัมผัสของปลั๊กและเครื่องเล่นแน่นหนา จบการนำเสนอแล้ว ขอบคุณค่ะ