M&E Systems Strengthening Tool

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Innovative Solution Integration Co, Ltd
Advertisements

การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
วิธีการจัดแฟ้มมาตรฐาน
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
Service Profile บริการ/ทีม: โรงพยาบาล วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
ผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
มาตรฐานการควบคุมภายใน
การบริหารและกระบวนการวางแผน
ระบบส่งเสริมการเกษตร
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
ระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น.
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ และบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การวางแผนยุทธศาสตร์.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การใช้งานและพัฒนาระบบ
Assessment and Evaluation System
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
Service Profile บริการ/ทีม: ……………………………. โรงพยาบาลนครปฐม
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

M&E Systems Strengthening Tool กลุ่มที่ 2 : หน่วยบริหารจัดการ : Management Unit Checklist to Assess Data Management Capacities of the Management Unit

วัตถุประสงค์(Objective) เพื่อประเมินศักยภาพของหน่วยบริหารจัดการที่เกี่ยวข้องกับ ดำเนินโครงการในด้าน To assess data management capacities of the management unit การเก็บรวบรวมข้อมูล (On Data Collection) วิเคราะห์ข้อมูล (On Data Analysis) รายงานข้อมูล (On Data reporting)

* Management Unit : => PR-DDC * Sub-reporting Entities : SR Meaning

เนื้อหาในการประเมิน Contents of the assessment กระบวนการบริหารจัดการข้อมูลและทรัพยากรของหน่วยบริหารจัดการ Data management Process& Resources (Checklist 1-16) 2. การกำกับดูแลหน่วยงานผู้รับทุนรอง Oversight of Sub-reporting Entities (Checklist 17-37) สาระสำคัญของการประเมินโดยการใช้ Checklist เป็นเครื่องมือแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1) กระบวนการบริหารจัดการข้อมูลและทรัพยากรของหน่วยบริหารจัดการ 2) การกำกับดูแลหน่วยงานผู้รับทุนรอง

ประสบการณ์และทักษะในการบริหารจัดการข้อมูลและรายงาน (1-3) 1. กระบวนการบริหารจัดการข้อมูลและทรัพยากร Data management Process & Resources ประสบการณ์และทักษะในการบริหารจัดการข้อมูลและรายงาน (1-3) Experience & Skill in Data Management & Reporting => Yes C: 3 โครงสร้าง ทรัพยากรและระบบบริหารจัดการของMU(4-11,14=9) Data management Structure, resources and procedures => Yes C: 4, Mostly: 1, Partly: 4 => 1) Staff-Time 2) MU use M&E data for Decision Making, 3)Training Data Management 4) Link Data Report System การ Feedback ไปยังหน่วยงานย่อย ด้านคุณภาพของรายงานและ ผลการดำเนินงานของโครงการ (12-13,15-16) Feedback to sub-reporting entities on Quality of Reporting and Program performance => Yes C: 4 ตาม Checklist นี้ครอบคลุมตั้งแต่ประสบการณ์ของ MU ในการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลจากหน่วยงานย่อย ได้แก่ 3 SR ซึ่งมีประเด็นในการประเมินตนเอง ตั้งแต่ประสบการณ์ในการรวบรวมและวิเคราะห์รายงาน รวมถึงการนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรายงาน (1-3) และประเด็นในการจัดโครงสร้างและระบบบริหารจัดการเพื่อการจัดการข้อมูล และการจัดทำรายงานที่ชัดเจน (4-9) และการ ไปยังหน่วยงานย่อย ด้านคุณภาพของรายงานและผลการดำเนินงานของโครงการ (10-16)

2. การกำกับดูแลหน่วยงานผู้รับทุนรอง (1) Oversight of Sub reporting Entities การจัดระบบในการทำรายงานจากหน่วยงานย่อยไปยังMU(17-22) Reporting Management from Sub-reporting Entities to MU => Yes C: 5, Partly: 1 => MU identify source document & data form all level การตรวจสอบรายงานที่ส่งจากหน่วยงานย่อยไปยังMU (ความทันเวลา ความสมบูรณ์ ความสอดคล้อง และความถูกต้อง) (23-27) Systematically Verified report (On time, Completeness, Consistency, Mistake free) from Sub-reporting Entities to MU => Yes C: 1, Mostly: 4 ตาม Checklist นี้ครอบคลุมถึงการจัดระบบในการจัดทำรายงานจากหน่วยงานย่อยไปยัง MU (17-22) การตรวจสอบรายงาน (ความทันเวลา ความสมบูรณ์ ความสอดคล้อง และความถูกต้อง) จากหน่วยงานย่อยไปยัง MU (23-27) การพัฒนาสมรรถนะของหน่วยงานย่อยด้านการติดตามประเมินผลและการบริหารจัดการข้อมูล (28-31) การติดตามกำกับเรื่องคุณภาพของข้อมูลในหน่วยงานย่อย(32-33) และการนิเทศติดตามที่หน่วยบริการ (34-37)

2. การกำกับดูแลหน่วยงานผู้รับทุนรอง (2) Oversight of Sub reporting Entities การพัฒนาสมรรถนะของหน่วยงานย่อยด้านการติดตามประเมินผลและการบริหารจัดการข้อมูล (28-31) Capacities building Sub-reporting Entities in M&E, data Management & Tools =>Mostly: 2, Partly: 2 (Training M&E and MIS) การติดตามกำกับด้านคุณภาพข้อมูลของหน่วยงานย่อย (32-33) Follow up with Sub-reporting Entities on Data Quality => Yes C.: 1, Mostly: 1(Double counting) กระบวนการนิเทศติดตามที่หน่วยบริการ Malaria post (34-37) Mechanism/Procedure to periodically verify at service points (MP) =>Mostly: 4 ตาม Checklist นี้ครอบคลุมถึงการจัดระบบในการจัดทำรายงานจากหน่วยงานย่อยไปยัง MU (17-22) การตรวจสอบรายงาน (ความทันเวลา ความสมบูรณ์ ความสอดคล้อง และความถูกต้อง) จากหน่วยงานย่อยไปยัง MU (23-27) การพัฒนาสมรรถนะของหน่วยงานย่อยด้านการติดตามประเมินผลและการบริหารจัดการข้อมูล (28-31) การติดตามกำกับเรื่องคุณภาพของข้อมูลในหน่วยงานย่อย(32-33) และการนิเทศติดตามที่หน่วยบริการ (34-37)

Dashboard Data Management Capacities of Management Unit Data management Process & Resources Oversight of Sub-reporting Entities ตาม Checklist นี้ครอบคลุมถึงการจัดระบบในการจัดทำรายงานจากหน่วยงานย่อยไปยัง MU (17-22) การตรวจสอบรายงานจากหน่วยงานย่อยไปยัง MU (23-27) การพัฒนาสมรรถนะของหน่วยงานย่อย(28-31) การติดตามกำกับเรื่องรายงานจากหน่วยงานย่อยไปยัง MU (32-33) และการนิเทศติดตามที่หน่วยบริการ (34-37) Over all

ISSUE STRENGTH WEAKNESS ACTION PLAN 1. การกำหนดผังโครงสร้างองค์กร และกำหนดภาระหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างชัดเจน(Organization Structure & Job Description) PR มีการจัดทำผังโครงสร้างองค์กรและกำหนดหน้าที่รับผิดชอบ ปริมาณของภาระงาน ไม่สอดคล้องกันจำนวนของบุคลากร (Staff-time) โครงสร้างขององค์กรยังไม่เหมาะสมกับการรองรับโครงการมาลาเรียรอบที่ 7 =>ขาด Malaria Specialist จ้างบุคลากรที่มีความสามารถ และสอดคล้องกับปริมาณงาน (ทั้ง Full Time & Part Time) => Q1 - Malaria Specialist - Admin Staff 2. ข้อตกลงร่วมกันระหว่าง PR และ SR อย่างชัดเจน ในการจัดทำรายงาน (Written Term of Reference) กองทุนโลกมีการกำหนดข้อตกลงดังกล่าว แสดงใน Program Grant Agreement - กำหนดรายงานที่ SR ต้องจัดส่งให้ PR - กำหนดระยะเวลาในการจัดส่งรายงานต่างๆ  

ระบบบริหารจัดการข้อมูล (Data Management System) ISSUE STRENGTH WEAKNESS ACTION PLAN 3.1 สมรรถนะของบุคลากร PR ในการบริหารจัดการข้อมูล (Capacity in MIS) * บุคลากรPRมีประสบการณ์ในการอบรมด้านการบริหารจัดการข้อมูล * การอบรมบุคลากร PR ด้านการจัดการข้อมูลยังไม่ต่อเนื่องและเป็นระบบ อบรมบุคลากร PR ด้านการบริหารจัดการข้อมูล Excel & SPSS & Cognos อย่างต่อเนื่อง => Q1 3.2 เครื่องมือบริหารจัดการข้อมูล (Data Management Tool) * PR มีการนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในการบริหารจัดการข้อมูล เช่น โปรแกรม Cognos8 และ GIS * PR ยังไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูลกับ SR และ SSR ด้านตัวชี้วัด และสถานการณ์พื้นที่ อบรมด้านการบันทึกข้อมูล / การเชื่อมโยงข้อมูลผ่านโปรแกรม Cognos ให้กับบุคลากรทุกระดับ => Q2 3.3 กระบวนการบริหารจัดการข้อมูล (Data Management Process) * PR มีการดำเนินงานในเรื่อง -การทำฟอร์มบันทึกข้อมูล -การบันทึกข้อมูล -การตรวจสอบความถูกต้อง -การประมวลผล และวิเคราะห์ -การจัดทำรายงาน การบริหารจัดการข้อมูลยังไม่เป็นระบบและไม่ดำเนินการ ทุกระดับ ประชุมทำความชัดเจนแบบฟอร์มบันทึกข้อมูลในทุกระดับ => Q1 จัดทำระเบียบปฏิบัติข้อบังคับการทำรายงานเป็นลายลักษณ์อักษร => Q1 อบรมการบริหารจัดการข้อมูลในทุกระดับ => Q2

ระบบบริหารจัดการข้อมูล (Data Management System) ISSUE STRENGTH WEAKNESS ACTION PLAN 3.4 การนำข้อมูลฯ ไปใช้ในงาน M&E ให้มีประสิทธิภาพ (Utilization of Data / Information) * PR-DDC มีการเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ให้กับหน่วยงานต่างๆ ผ่านทาง www.thaiprddc.org และมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านทาง web link * ขาดการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ โดยเฉพาะด้าน M&E ให้มีประสิทธิภาพ * ขาดการแลกเปลี่ยนข้อมูลในระดับจังหวัดและพื้นที่ดำเนินงาน บรรจุวาระเรื่องการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ หรือการนำเสนอผลการดำเนินงาน ในการประชุมอย่างสม่ำเสมอ => Q2 พัฒนาศักยภาพด้านการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ด้าน M&E => Q3 พัฒนา website เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลในทุกระดับ => Q3

ระบบบริหารจัดการข้อมูล (Data Management System) ISSUE STRENGTH WEAKNESS ACTION PLAN 4. การนิเทศติดตามการดำเนินงาน ในระดับ SR, SSR และหน่วยบริการ (MP) * PR มีการนิเทศติดตามงานของพื้นที่ (MP) ร่วมกับ SR สคร. และจังหวัด * PR ร่วมกิจกรรมตามแผนงานของ SR และให้คำปรึกษาในกรณีที่พบปัญหา การนิเทศติดตามงานในพื้นที่ยังอยู่ในวงจำกัด และไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ โดยเน้นเฉพาะพื้นที่ที่มีปัญหาเท่านั้น * วางแผนการนิเทศติดตามงานในพื้นที่อย่างเป็นระบบ เช่น site visit ภาคละ 2 จังหวัด (ใน 6 ภาค) โดยลงไปในทุกระดับจนถึง Malaria Post => Q3