การปรับเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมการให้นมแม่ Sub NICU โดย วรรณา สุธรรมา
การให้นมมารดา และการสร้างสายสัมพันธ์ นโยบายส่งเสริมนมแม่ของกระทรวง โรงพยาบาลส่งเสริมนมแม่
บริบทของหน่วยงาน หอผู้ป่วยบริบาลทารกที่เจ็บป่วยต้องดูแลใกล้ชิด มีทารกที่มีปัญหาน้ำหนักตัวน้อย หายใจเร็ว การดูดกลืนไม่ดี มีทารกที่ถูกแยกจากมารดานาน พัฒนาการช้า
ปัญหาและอุปสรรคที่พบในการมาให้นม ภาวะทางร่างกายของมารดา(เจ็บแผล อ่อนเพลีย ซีด เวียนศีรษะ) ภาวะทางจิตใจของมารดา(เศร้า โดดเดี่ยว ไร้คุณค่า) ความเชื่อ ค่านิยม ของครอบครัว มารดาบ้านไกล มาเยี่ยมไม่บ่อย ไม่มีห้องให้มารดาเฝ้าตลอด ปัญหาทางเศรษฐกิจของครอบครัว
ปัญหาและอุปสรรคที่พบในการมารับบุตรกลับบ้าน ตามแล้วไม่มารับ ตามมาฝึกเลี้ยงบุตรแล้วมาไม่ได้ ไม่มา มารับบุตรกลับแล้วไม่สามารถดูแลได้ดี เด็กกลับมา admit ด้วยภาวะแทรกซ้อน
ผลกระทบที่ทารกได้รับ ทารกไม่ได้รับนมมารดา ทารกไม่ได้รับสารอาหารบางตัวที่มีอยู่ในนมมารดาเท่านั้น ไม่เกิดสายสัมพันธ์ มารดาทารก พัฒนาการไม่ค่อยดี(น้ำหนักขึ้นช้า ร้องไห้มาก หลับน้อย) มีผลต่อพัฒนาการทางอารมณ์เมื่อโตขึ้น
แนวคิดใหม่ที่เกิดขึ้น มีความสะดวก มีคำแนะนำ เข้าถึงได้ง่าย สบายกาย สบายใจ ไม่รู้สึกถูกบังคับ ให้โอกาส มีทางเลือก ไม่กระทบเศรษฐกิจ
การปรับเปลี่ยน เก้าอี้สนามที่สามารถเอนหลังได้มากและมีพื้นที่กว้าง หมอนวางแขนกันเมื่อย มีห้องให้นมที่มิดชิดและเป็นส่วนตัว การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพมารดา ใกล้ชิดพยาบาลสามารถแนะนำได้สะดวก ห้องพักในโรงพยาบาล
หอผู้ป่วยSub NICU
มีห้องให้นมที่มิดชิดและเป็นส่วนตัว
เก้าอี้สนามที่สามารถเอนหลังได้มากและมีพื้นที่กว้าง
หมอนวางแขนกันเมื่อย
การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพมารดา
บอร์ดความรู้ต่าง ๆ
ใกล้ชิดพยาบาลสามารถแนะนำได้สะดวก
การให้ทางเลือก กรณีที่มารดาต้องการอยู่ให้นมบุตรสามารถทำได้หลายกรณี ไป - กลับ(บ้านใกล้) มีห้องพักให้ เบิกข้าวให้ สามมื้อ ตอนกลางวันสามารถอยู่ให้นมบุตรได้ตลอดเวลา ประมาณ 20.00 น ให้ไปพักผ่อนที่ห้องพัก (สามารถพักได้มากที่สุด 3 คน)
ผลที่ได้รับ ทารกมีโอกาสได้รับนมมารดา ส่งเสริมพัฒนาการทารก ส่งเสริมสายใยรัก มารดาไม่เครียด ไม่ปวดหลัง สามารถงีบหลับได้บางครั้ง น้ำนมไหลได้ดีขึ้น ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ระหว่างมารดาด้วยกัน
ผลที่ได้รับ เพิ่มพูนความรู้จากบอร์ดด้านข้าง ผ่อนคลายความเครียดจากหนังสือและรูปภาพ มีกำลังใจในการเลี้ยงดูบุตร สามารถสังเกตความผิดปกติของบุตรขณะดูดนม โดยมีพยาบาลอยู่ให้คำปรึกษาตลอด มีความมั่นใจในการเลี้ยงดูบุตรเมื่อรับกลับบ้าน
การใช้ประโยชน์ของห้องให้คุ้มค่า คุ้มทุน(เริ่มปฏิบัติ) ปรับใช้เป็นห้องให้สุขศึกษาและคำแนะนำก่อนรับบุตรกลับบ้าน ปรับใช้เป็นห้องประเมินพัฒนาการเด็กที่เคย admit และมา FU โดยมารดาพามาเยี่ยม ปรับใช้เป็นห้องส่งเสริมสุขภาพเจ้าหน้าที่ (โยคะแบบง่าย พักผ่อนยามว่าง)
การใช้ประโยชน์ของห้องให้คุ้มค่า คุ้มทุน(โครงการในอนาคต) ปรับใช้เป็นห้องนวดกระตุ้นพัฒนาการ และการจัดกระดูกและกล้ามเนื้อ(มีพยาบาลที่ได้รับการอบรมมณีเวช) ปรับใช้เป็นห้องให้คำปรึกษากรณี unwanted child, มารดา HIV (มีพยาบาลปริญญาโท จิตวิทยาการปรึกษา) ปรับใช้เป็นห้องตรวจหูทารก