กรมคุ้มครองสิทธิและ เสรีภาพ ทำไมจึงมีการรณรงค์ เปลี่ยนแปลงโทษ ประหารชีวิต
ความเป็นมา หลักการและแนวคิด เกี่ยวกับโทษประหารชีวิต ปรัชญาการลงโทษ 1. การยับยั้งการกีดขวาง (Deterrence) 2. การตัดโอกาส (Incapacitation) 4. การแก้แค้น (Retribution) 5. การแก้ไขฟื้นฟู (Rehabilitation) 6. ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ (Restorative Justice)
การประหารชีวิต เป็นการกระทำที่ละเมิดต่อ กฎหมายระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน เพราะเป็นการละเมิดสิทธิในการมีชีวิตอยู่ แนวโน้มการใช้โทษประหารชีวิตทั่วโลกมี จำนวนลดลงเรื่อยๆ และกว่า 140 ประเทศ หรือ 3 ใน 4 ของประเทศทั่วโลก ได้ยกเลิก โทษประหารชีวิต ยังคงเหลือเพียง 58 ประเทศ ซึ่งไทยก็เป็นหนึ่งในประเทศที่ยังคง ใช้โทษประหารชีวิตอยู่ ทำไมทั่วโลกถึงรณรงค์ให้มีการ ยกเลิกโทษประหารชีวิต
เหตุผลที่ยกเลิกโทษ ประหารชีวิต ขัดต่อหลักสิทธิมนุษยชนขั้น พื้นฐานในการมีชีวิตอยู่ นักโทษประหารชีวิต ส่วนใหญ่ เป็นคนจน ด้อยโอกาส ไม่มีโอกาสต่อสู้คดี การเลือกปฏิบัติในระบบยุติธรรม ทางอาญา การใช้โทษประหารชีวิตไม่ สามารถยับยั้งการเกิด อาชญากรรมได้
ทิศทางการเปลี่ยนแปลงโทษ ประหารชีวิตในประเทศไทย
ประเทศไทยเป็น 1 ใน 58 ประเทศ ที่ยังคงใช้โทษประหารชีวิต แต่มีสัญญาณบวกที่ดีใน หลายๆ ประการ
ประเทศในประชาคมอาเซียนที่มีการ ยกเลิกโทษประหารชีวิต และยังคงบทลงโทษประหารชีวิต ประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิต สำหรับความผิดทางอาญาทุกประเภท ได้แก่ กัมพูชา ฟิลิปปินส์ ประเทศที่ยกเลิกโทษประหารชีวิต ในทางปฏิบัติ ได้แก่ บรูไน พม่า และลาว ประเทศที่ยังคงโทษประหารชีวิต ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ เวียดนามและ ไทย
โทษประหารชีวิต ช่วยให้สังคมสงบสุขและ ปลอดภัยจากอาชญากรรมได้ จริงหรือไม่ ?