แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
การจัดสรรงบประมาณ โครงการเด็กไทยเฉลียวฉลาด ประเทศชาติแข็งแรง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คอนสาย-ค้อใหญ่
โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย ภัยแอบแฝงที่แก้ได้
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
การดำเนินงาน โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว จังหวัดอุตรดิตถ์
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
โครงการรณรงค์ให้วัคซีนไข้หวัด ใหญ่ตามฤดูกาล จังหวัดอุดรธานี ปี 2554 รณรงค์ 1 มิย. – 31 สค 54 จำนวนวัคซีน 6 พันโด๊สในบุคลากร & 4.5 หมื่นโด๊ส ในประชาชน โรงพยาบาลเป็นหน่วยบริการหลัก.
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
โครงการป้องกันและควบคุมโรค ธาลัสซีเมีย
ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
โดย นายแพทย์ดนัย ธีวันดา ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
แก้ไขปัญหาทารกแรกเกิด นน.<2,500 กรัม อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย
การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
มาตรฐาน รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว
โดย นางนวลใย วรรณเวช พยาบาลวิชาชีพ 7 กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพัทลุง
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การจัดส่งรายงานผู้ป่วยประกันสังคม
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
Pass:
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน ประเด็น พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย

1. หญิงมีครรภ์ได้รับการปรึกษาธาลัสซีเมียทุกราย 2 1. หญิงมีครรภ์ได้รับการปรึกษาธาลัสซีเมียทุกราย 2. หญิงมีครรภ์ได้รับการตรวจคัดกรองหากผลผิดปกติ ตามสามีตรวจคัดกรองทุกราย 3. คู่สมรสหากผลตรวจคัดกรองผิดปกติ ได้รับการ ตรวจยืนยันคู่สมรสเสี่ยงทุกคู่ นโยบายธาลัสซีเมีย

5. สถานบริการสาธารณสุขจัดระบบบริการส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคทุกแห่ง 4. หญิงมีครรภ์เข้าข่ายคู่สมรสเสี่ยง ได้รับการตรวจ ทารกในครรภ์ก่อนคลอดทุกราย 5. สถานบริการสาธารณสุขจัดระบบบริการส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคทุกแห่ง 6. นักเรียน หญิงวัยเจริญพันธ์ คู่สมรสได้รับความรู้ธาลัสซีเมียทั่วถึง

แนวทางการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรค 1. การให้ความรู้ 2 แนวทางการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรค 1. การให้ความรู้ 2. การตรวจกรองหาคู่สมรสเสี่ยง 3. การให้การปรึกษา 4. การตรวจวินิจฉัยโรคก่อนคลอด 5. การเสนอทางเลือก

การให้บริการตรวจกรองธาลัสซีเมียแก่ หญิงตั้งครรภ์/สามีที่ได้มาตรฐาน การให้บริการตรวจกรองธาลัสซีเมียแก่ หญิงตั้งครรภ์/สามีที่ได้มาตรฐาน ประกอบด้วย 1. การให้การปรึกษาทางพันธุกรรมหญิงมีครรภ์ทุกคน รายบุคคล รายกลุ่ม 2. การตรวจกรองธาลัสซีเมียเบื้องต้นแก่หญิงมีครรภ์ตาม ความสมัครใจ 3. การติดตามสามีของหญิงตั้งครรภ์ที่มีผลการตรวจคัดกรอง เบื้องต้น ทุกคน

4. การตรวจยืนยันผล หญิงตั้งครรภ์/สามีว่าเป็นคู่สมรสเสี่ยงที่มีโอกาสมีบุตรเป็นโรคชนิดรุนแรง 3 ชนิด 5. การตรวจวินิจฉัยทารกในครรภ์ก่อนคลอดให้แก่คู่สมรส ( หญิงตั้งครรภ์)ที่มีโอกาสมีบุตรเป็นโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง 6. การให้การปรึกษาแก่คู่สมรสที่ทราบว่าบุตรในครรภ์เป็นโรคชนิดรุนแรง เพื่อให้ข้อมูลและการนำเสนอทางเลือกแก่คู่สมรสเพื่อการมีลูกที่แข็งแรงปลอดภัย

เป้าหมายการดำเนินงาน ระดับผลผลิต 1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการให้คำปรึกษา “ ธาลัสซีเมีย “100 % 2.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมียไม่น้อยกว่า 80 %

หญิงตั้งครรภ์ที่มีผลคัดกรองผิดปกติให้ตามสามีเพื่อตรวจคัดกรองธาลัสซีเมีย 100% หญิงตั้งครรภ์และสามีที่มีผลคัดกรองผิดปกติได้รับการตรวจวินิจฉัยคู่สมรสเสี่ยง 100% หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นคู่สมรสเสี่ยงได้รับการตรวจวินิจฉัยทารกในครรภ์ก่อนคลอด 100 %

ระดับผลลัพธ์ 1. คู่สมรสเสี่ยงที่ทราบว่าบุตรในครรภ์เป็นโรคชนิดรุนแรงได้รับการปรึกษาและเลือกสิ้นสุดการตั้งครรภ์ 2. เด็กแรกเกิดที่เป็นโรคธาลัสซีเมียลดลง

สถานบริการ โรงพยาบาลของรัฐทุกระดับจัดบริการ ส่งเสริม ป้องกันและเฝ้าระวังโรคธาลัสซีเมียได้มาตรฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

การจัดบริการในโรงพยาบาล มีการติดคำประกาศนโยบาย การส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมียให้ผู้รับบริการเห็นชัดเจนในสถานที่ที่เหมาะสม มีการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขในการดำเนินงานโครงการ ฯ ทุกระดับ

3. มีเครือข่ายและระบบการส่งต่อในการบริการด้านการ ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย 4. มีระบบข้อมูลการบริการธาลัสซีเมียที่เป็นปัจจุบัน และสามารถตรวจสอบได้

ภาพในอุดมคติ ถ้าการป้องกันและควบคุมโรคได้ผล ไม่มีเด็กเกิดใหม่ป่วยเป็นโรค เด็กป่วยได้รับการรักษา เด็กไทยแข็งแรง พัฒนาการสมวัย IQ & EQ ดี เป็นผู้ใหญ่ที่แข็งแรง เมืองไทยแข็งแรง

การเบิกจ่ายงบประมาณ การเบิกงบประมาณการตรวจคัดกรอง ค่า ตรวจด้วย OF / MCV รายละ 13 บาท ค่าตรวจด้วย DCIP รายละ 17 บาท โดย รพ. ทุกแห่งจัดทำทะเบียนรายชื่อเก็บไว้ที่ โรงพยาบาล ส่งใบสำคัญรับเงินเบิกที่งานส่งเสริมสุขภาพ พร้อมรายงานเฉพาะกิจเป็นรายงวด

ใบสำคัญรับเงิน รายการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี ใบสำคัญรับเงิน วันที่……………………………………………… ข้าพเจ้า ( ผอก.รพ.หรือผู้ได้รับมอบหมาย) อยู่บ้านเลขที่ ……… ( รายการที่อยู่ผู้ลงนาม )…………….. ตำบล…………………………...อำเภอ………………..จังหวัดอุดรธานี ได้รับเงินจาก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี ดังรายการต่อไปนี้ รายการ จำนวนเงิน - ค่าบริการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมีย ด้วย OF จำนวน ……….ราย ๆ ละ 13 บาท เป็นเงิน   - ค่าบริการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมีย ด้วย DCIP จำนวน …...ราย ๆ ละ 17 บาท เป็นเงิน จำนวนเงิน…………………………………………………… ลายเซ็น ( ผู้ที่ลงนามข้างต้น ) ผู้เบิกเงิน (……………………………………….) ลงชื่อ ( สสจ.ลงนาม ) ผู้ตรวจเอกสาร

2 การให้บริการตรวจยืนยันคู่สมรสเสี่ยง 2 การให้บริการตรวจยืนยันคู่สมรสเสี่ยง ค่าบริการตรวจ Hemoglobin typing รายละ 250 บาท ค่าบริการตรวจแอลฟ่าธาลัสซีเมีย รายละ 350 บาท 3. ค่าบริการตรวจวินิจฉัยคู่เสี่ยง รายละ 2,500 บาท 4. ค่าบริการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ รายละ 1,500 บาท ข้อ 2 – 4 หน่วยบริการที่ให้บริการเป็นผู้เบิก

( ต.ค -ธ.ค , ม.ค -มี.ค , เม.ย- มิ.ย , ก.ค - ก.ย) การจัดทำรายงาน รายงานโครงการส่งเสริมควบคุมและป้องกันโรคธาลัสซีเมีย จัดทำ/ส่ง สสจ.งวด 4 เดือน ( ต.ค -ธ.ค , ม.ค -มี.ค , เม.ย- มิ.ย , ก.ค - ก.ย) 2. แบบรายงานเฉพาะกิจโครงการพัฒนาโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวเพื่อพัฒนาการเด็กสมวัย

( ต.ค -ธ.ค , ม.ค -มี.ค , เม.ย- มิ.ย , ก.ค - ก.ย) 3. รายงานบริการอนามัยแม่และเด็ก จัดทำ/ส่ง สสจ.งวด 4 เดือน ( ต.ค -ธ.ค , ม.ค -มี.ค , เม.ย- มิ.ย , ก.ค - ก.ย) 4. รายงานเอดส์ในแม่และเด็ก ( PHIMS , CHILD ) ส่งทุกเดือน

สวัสดี สวัสดี