สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
สถานการณ์ไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2550 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2550) ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
สรุปสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ ประจำเดือนธันวาคม 2549(ณ สัปดาห์ที่ 51)
กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขก.. สถานการณ์เฝ้าระวังผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดนก ในพื้นที่ สคร.6 ขก. ปี 2549 (1 มค.- 22 พย.49)
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
พยากรณ์โรคมือเท้าและปากในพื้นที่เขต18 (Hand Foot and Mouth Disease)
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ไข้เลือดออก.
โรคที่ต้องควบคุมโรคอย่างเร่งด่วน ประจำเดือนตุลาคม 2549 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การประชุม Dead Case Conference
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ประจำเดือนตุลาคม 2550 Darunee Phosri :
นพ.สมจิตร ศรีศุภร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
ประชุม WARROOM จังหวัดนครปฐม 10 สิงหาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
การประชุม Warroom โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ครั้งที่ 5/2556 วันที่ 26 กรกฎาคม 2556 ณ ห้องประชุม 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
รายงานการเฝ้าระวังโรคช่วงสถานการณ์อุทกภัย จังหวัดนครปฐม 21 พฤศจิกายน 2554 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2552 ดรุณี โพธิ์ศรี
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมกราคม 2555 นำเสนอวันที่ 31 มกราคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค.
การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน พฤษภาคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ข้อมูล ณ 20 มิถุนายน 2550 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มิถุนายน 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน ตุลาคม 2556 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนเมษายน 2554 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนพฤษภาคม 2554 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม กรกฎาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มกราคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กันยายน 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2551 Darunee Phosri :
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
ผู้ป่วยเข้านิยามอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่จำนวนทั้งหมด 85 ราย (อัตราป่วย)
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ...
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม

เปรียบเทียบสถานการณ์โรคทางระบาดวิทยา 10 อันดับแรก เดือนกค 54 (มิย 54-20 กค 54)กับ กค 55(20 มิย 55-20 กค 55) จังหวัดนครปฐม อัตราต่อปชกแสนคน

สถานการณ์ โรคไข้เลือดออก

สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2555 (ข้อมูล ณ 29 กค 55) ลำดับที่ Reporting areas cases deaths Morbidity rate 1 Krabi 1174 271.32 2 Rayong 1044 166.67 3 Chanthaburi 648 125.92 4 Phangnga 279 110.23 5 Satun 274 92.21 6 Ranong 153 83.57 7 Samut Sakhon 408 82.95 8 Ratchaburi 686 81.76 9 Trat 180 81.48 10 Chumphon 385 78.58 รวมทั้งประเทศ 26,079 40.83 27 แหล่งที่มา: http://www.boe.moph.go.th/ เข้าถึงข้อมูล ณ วันที่ 29 กรกฎาคม 2555

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จ.นครปฐม ปี 2555 (ข้อมูล ณ 28 ก.ค. 55) จำนวน(ราย) - ค่า Median ย้อนหลัง 5 ปี (2550-2554) = 1,363 ราย คิดเป็นอัตราป่วย ไม่เกิน 164 ต่อประชากรแสนคน - เป้าหมายลดลงร้อยละ 20 จากค่าMedian = 1,090 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 131 ต่อประชากรแสนคน แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม

อัตราป่วยต่อแสนด้วยโรคไข้เลือดออก จำแนกตามพื้นที่ (ข้อมูล ณ 26 กค 55) อัตราป่วยต่อแสนปชก แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม

อัตราป่วยต่อแสนด้วยโรคไข้เลือดออก จำแนกตามรายเครือข่าย (ข้อมูล ณ 26 กค 55) อัตราป่วยต่อแสนปชก แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม

รายงานผลการตรวจ dengue serotype ของกรมวิทย์ฯ update เมื่อ 20 ก. ค  รายงานผลการตรวจ dengue serotype ของกรมวิทย์ฯ update เมื่อ 20 ก.ค. 2555 จำนวนตรวจที่ positive 96 ราย แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม

พื้นที่ที่ต้อง กำกับติดตาม

พื้นที่ที่กำลังมีการระบาดด้วยโรคไข้เลือดออก (ข้อมูล ณ 28 กค 55) รายละเอียดดังเอกสาร แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม

สถานการณ์ โรคมือ เท้า ปาก

ตั้งแต่วันที่ 1 มค- 25 กค 55 มีผู้ป่วย 17,656 ราย เสียชีวิต 1 ราย โดยภาคเหนือมีอัตราป่วยมากที่สุด จังหวัดที่มีอัตราป่วยมากที่สุด 5 อันดับแรกคือ พะเยา มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นในมิย55และกค55 จากการศึกษาเด็กที่ป่วยโรคมือเท้าปาก เชื้อที่พบ 40% เป็นสายพันธุ์คอกซากี เอ 6, 10% เป็นเอนเทอโรไวรัส 71, 10% เป็นคอกซากี เอ 16 และส่วนที่เหลือกำลังแยกสายพันธุ์อยู่

สถานการณ์โรคมือ เท้า ปาก จ.นครปฐม ปี 2555 (ข้อมูล ณ 26 กค 55) จำนวน(ราย) แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม

ลักษณะอาการที่สำคัญของโรคติดเชื้อไวรัสชนิดนี้ ลักษณะอาการที่สำคัญของโรคติดเชื้อไวรัสชนิดนี้  

โรคมือ เท้า ปาก กลุ่มที่พบ พบบ่อยในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี ส่วนใหญ่เด็กที่ป่วยมักมีอาการไม่รุนแรงและสามารถหายได้เอง สาเหตุ เกิดจากการติดเชื้อไวรัสในกลุ่มเอนเทอโรไวรัส (Enterovirus) ซึ่งมีหลายชนิดที่พบบ่อย ได้แก่ ไวรัสคอก แซคกี้ เอ (Coxsackie A) และเอนเทอโรไวรัส 71 ติดเชื้อเข้าสู่ร่างกายโดย ทางการหายใจ และทางเดินอาหาร โดยการสัมผัสกับน้ำมูก น้ำลาย น้ำจากตุ่มพอง หรืออุจจาระของผู้ป่วย เชื้อมีระยะฟักตัวนานประมาณ 3-6 วัน

โรคมือ เท้า ปาก อาการแทรกซ้อนที่ควรเฝ้าระวัง หากรับประทานอาหารได้น้อย และมีภาวะขาดน้ำ - ควรรีบไปโรงพยาบาลหากมีอาการดังนี้ ไข้สูงมาก ซึมลง และอาเจียนบ่อย มีอาการหายใจหอบเหนื่อย แขนขาอ่อนแรง วิธีการป้องกันที่สำคัญ แยกผู้ป่วย และรักษาสุขอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ดี ทำความสะอาดเครื่องใช้และของเล่น หลีกเลี่ยงการใช้สิ่งของเครื่องใช้ร่วมกัน เน้นการล้างมือด้วยน้ำและสบู่ หลีกเลี่ยงการพาเด็กไปในที่ชุมชนแออัด

พื้นที่ที่กำลังมีการระบาดด้วยกลุ่มอาการมือ เท้า ปาก (ข้อมูล ณ 26 กค 55) รายละเอียดดังเอกสาร แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม

พื้นที่ที่มีกลุ่มอาการไข้ไม่ทราบสาเหตุ ระบาดในขณะนี้ พื้นที่ที่มีกลุ่มอาการไข้ไม่ทราบสาเหตุ ระบาดในขณะนี้ (ข้อมูล ณ 26 มิย 55) แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม

พื้นที่ที่มีกลุ่มอาการไข้หวัดใหญ่ ระบาดในขณะนี้ พื้นที่ที่มีกลุ่มอาการไข้หวัดใหญ่ ระบาดในขณะนี้ แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม

ขอขอบคุณ Darunee Phosri