สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
เปรียบเทียบสถานการณ์โรคทางระบาดวิทยา 10 อันดับแรก เดือนกค 54 (มิย 54-20 กค 54)กับ กค 55(20 มิย 55-20 กค 55) จังหวัดนครปฐม อัตราต่อปชกแสนคน
สถานการณ์ โรคไข้เลือดออก
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ปี 2555 (ข้อมูล ณ 29 กค 55) ลำดับที่ Reporting areas cases deaths Morbidity rate 1 Krabi 1174 271.32 2 Rayong 1044 166.67 3 Chanthaburi 648 125.92 4 Phangnga 279 110.23 5 Satun 274 92.21 6 Ranong 153 83.57 7 Samut Sakhon 408 82.95 8 Ratchaburi 686 81.76 9 Trat 180 81.48 10 Chumphon 385 78.58 รวมทั้งประเทศ 26,079 40.83 27 แหล่งที่มา: http://www.boe.moph.go.th/ เข้าถึงข้อมูล ณ วันที่ 29 กรกฎาคม 2555
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จ.นครปฐม ปี 2555 (ข้อมูล ณ 28 ก.ค. 55) จำนวน(ราย) - ค่า Median ย้อนหลัง 5 ปี (2550-2554) = 1,363 ราย คิดเป็นอัตราป่วย ไม่เกิน 164 ต่อประชากรแสนคน - เป้าหมายลดลงร้อยละ 20 จากค่าMedian = 1,090 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 131 ต่อประชากรแสนคน แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
อัตราป่วยต่อแสนด้วยโรคไข้เลือดออก จำแนกตามพื้นที่ (ข้อมูล ณ 26 กค 55) อัตราป่วยต่อแสนปชก แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
อัตราป่วยต่อแสนด้วยโรคไข้เลือดออก จำแนกตามรายเครือข่าย (ข้อมูล ณ 26 กค 55) อัตราป่วยต่อแสนปชก แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
รายงานผลการตรวจ dengue serotype ของกรมวิทย์ฯ update เมื่อ 20 ก. ค รายงานผลการตรวจ dengue serotype ของกรมวิทย์ฯ update เมื่อ 20 ก.ค. 2555 จำนวนตรวจที่ positive 96 ราย แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
พื้นที่ที่ต้อง กำกับติดตาม
พื้นที่ที่กำลังมีการระบาดด้วยโรคไข้เลือดออก (ข้อมูล ณ 28 กค 55) รายละเอียดดังเอกสาร แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
สถานการณ์ โรคมือ เท้า ปาก
ตั้งแต่วันที่ 1 มค- 25 กค 55 มีผู้ป่วย 17,656 ราย เสียชีวิต 1 ราย โดยภาคเหนือมีอัตราป่วยมากที่สุด จังหวัดที่มีอัตราป่วยมากที่สุด 5 อันดับแรกคือ พะเยา มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นในมิย55และกค55 จากการศึกษาเด็กที่ป่วยโรคมือเท้าปาก เชื้อที่พบ 40% เป็นสายพันธุ์คอกซากี เอ 6, 10% เป็นเอนเทอโรไวรัส 71, 10% เป็นคอกซากี เอ 16 และส่วนที่เหลือกำลังแยกสายพันธุ์อยู่
สถานการณ์โรคมือ เท้า ปาก จ.นครปฐม ปี 2555 (ข้อมูล ณ 26 กค 55) จำนวน(ราย) แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
ลักษณะอาการที่สำคัญของโรคติดเชื้อไวรัสชนิดนี้ ลักษณะอาการที่สำคัญของโรคติดเชื้อไวรัสชนิดนี้
โรคมือ เท้า ปาก กลุ่มที่พบ พบบ่อยในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี ส่วนใหญ่เด็กที่ป่วยมักมีอาการไม่รุนแรงและสามารถหายได้เอง สาเหตุ เกิดจากการติดเชื้อไวรัสในกลุ่มเอนเทอโรไวรัส (Enterovirus) ซึ่งมีหลายชนิดที่พบบ่อย ได้แก่ ไวรัสคอก แซคกี้ เอ (Coxsackie A) และเอนเทอโรไวรัส 71 ติดเชื้อเข้าสู่ร่างกายโดย ทางการหายใจ และทางเดินอาหาร โดยการสัมผัสกับน้ำมูก น้ำลาย น้ำจากตุ่มพอง หรืออุจจาระของผู้ป่วย เชื้อมีระยะฟักตัวนานประมาณ 3-6 วัน
โรคมือ เท้า ปาก อาการแทรกซ้อนที่ควรเฝ้าระวัง หากรับประทานอาหารได้น้อย และมีภาวะขาดน้ำ - ควรรีบไปโรงพยาบาลหากมีอาการดังนี้ ไข้สูงมาก ซึมลง และอาเจียนบ่อย มีอาการหายใจหอบเหนื่อย แขนขาอ่อนแรง วิธีการป้องกันที่สำคัญ แยกผู้ป่วย และรักษาสุขอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ดี ทำความสะอาดเครื่องใช้และของเล่น หลีกเลี่ยงการใช้สิ่งของเครื่องใช้ร่วมกัน เน้นการล้างมือด้วยน้ำและสบู่ หลีกเลี่ยงการพาเด็กไปในที่ชุมชนแออัด
พื้นที่ที่กำลังมีการระบาดด้วยกลุ่มอาการมือ เท้า ปาก (ข้อมูล ณ 26 กค 55) รายละเอียดดังเอกสาร แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
พื้นที่ที่มีกลุ่มอาการไข้ไม่ทราบสาเหตุ ระบาดในขณะนี้ พื้นที่ที่มีกลุ่มอาการไข้ไม่ทราบสาเหตุ ระบาดในขณะนี้ (ข้อมูล ณ 26 มิย 55) แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
พื้นที่ที่มีกลุ่มอาการไข้หวัดใหญ่ ระบาดในขณะนี้ พื้นที่ที่มีกลุ่มอาการไข้หวัดใหญ่ ระบาดในขณะนี้ แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
ขอขอบคุณ Darunee Phosri