สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง นำเสนอการประชุมแพทย์ วันที่ 9 มิถุนายน 2551 นพ.สมจิตร ศรีศุภร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551
เปรียบเทียบสถานการณ์โรคทางระบาดวิทยา 10 อันดับแรกช่วงพค51กับพค50 จังหวัดนครปฐม อัตราต่อแสนปชก
ผลการให้น้ำหนักคะแนนจากเกณฑ์ทั้ง 5 ข้อ ปี 2551 ระยอง 11 กรุงเทพมหานคร 10 นครปฐม ราชบุรี นครสวรรค์ 9 นนทบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สมุทรสาคร สุราษฎร์ธานี กระบี่ 8 จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ปทุมธานี ปราจีนบุรี เพชรบูรณ์ แพร่ ระนอง สมุทรปราการ > 8 = สูง 6-7 = ปานกลาง 3-5 = น้อย ที่มา: การประชุมติดตามผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและพัฒนาแผนกลยุทธ์ปี 2554 วันที่ 10-11 กันยายน 2550 ณ โรงแรมเอกไพลิน ริเวอร์แคว อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี
เปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก ปี 2550กับมัธยฐาน 5 ปี (2546-2550) จำแนกเดือน (ข้อมูล ณ 25 พค 51) อัตราต่อแสนปชก
อัตราป่วยต่อแสนด้วยโรคไข้เลือดออก จำแนกตามอำเภอ(ข้อมูล ณ 25 พค 51) อัตราป่วยต่อแสนปชก แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม
พื้นที่ที่พบไข้เลือดออกตั้งแต่ 1 มค 51 -20 พค 51 แหล่งที่มา: รง 506/507 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.นครปฐม (ณ 25 พค 51) พื้นที่ที่พบไข้เลือดออกตั้งแต่ 1 มค 51 -20 พค 51
อัตราป่วยตามกลุ่มอายุ พ.ศ. 2551 จ.นครปฐมเทียบกับ ประเทศไทย อัตราป่วยตามกลุ่มอายุ พ.ศ. 2551 จ.นครปฐมเทียบกับ ประเทศไทย แนวโน้มพบในผู้ที่มีอายุมากขึ้น แหล่งที่มา: รายงาน 506 งานระบาดวิทยา สสจ.นครปฐมและสำนักระบาดวิทยา ณ 25 พค 51
โรคที่เป็นปัญหา ของจังหวัดนครปฐม
อัตราป่วยต่อแสนด้วยไข้ไม่ทราบสาเหตุจำแนกตามอำเภอ(ข้อมูล ณ 25 พฤษภาคม 51)
ต้องระวังเรืองโรค โรคมือเท้าปาก โรคสุกใสในผู้สูงอายุ ไข้สมองอักเสบเจ อี
ขอขอบคุณ