Review of HFM Investigation 2007

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
เป้าเบิกจ่าย งบรวม เป้าเบิกจ่าย งบลงทุน งบรวม เบิกจ่าย.
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข งานระบาดวิทยา 5 มิถุนายน 2557
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังและ สถานการณ์ที่สำคัญ มิถุนายน 2551 กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขอนแก่น.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
สำนักวิชาการและแผนงาน
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 4) พ. ศ
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
มิ. ย.- ก. ค ปลาย เม. ย.- พ. ค พ. ย HFMD outbreak 2007 from ProMED- mail post พ. ค
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม กรกฎาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
ระบาดวิทยาและ SRRT.
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนมิถุนายน 2553 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กราฟเบื้องต้น.
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Review of HFM Investigation 2007 กลุ่มงานเฝ้าระวังสอบสวนทางระบาดวิทยา สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนของโรคมือ เท้า ปาก จำแนกตามรายปี ประเทศไทย ปีพ อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนของโรคมือ เท้า ปาก จำแนกตามรายปี ประเทศไทย ปีพ.ศ. 2544 - 2550

การรายงาน ลักษณะเหตุการณ์ ได้รับแจ้ง 121 เหตุการณ์ ส่งรายงาน 118 ฉบับ การระบาด 63 (53.4%) Case report 52 (44.1%) Case series 3 (2.5%) ส่งรายงาน 118 ฉบับ (ผู้ป่วย 821 ราย) ฉบับสมบูรณ์ 79 (66.9%) รายงานเบื้องต้น 38 (32.2%) ข่าวการระบาด 1 (0.8%)

พื้นที่ที่มีรายงานการสอบสวน พ.ศ. 2550 ไม่มีรายงาน 1 ฉบับ 2 – 5 ฉบับ > 5 ฉบับ จำนวนรายงานสอบสวนโรค จำนวนผู้ป่วยจากรายงาน 506

พื้นที่ที่มีรายงานการสอบสวน ได้รับรายงานมาจาก 43 จังหวัด จังหวัดที่มีรายงานการสอบสวนโรคมากที่สุด 5 อันดับแรกได้แก่ ขอนแก่น 9 ฉบับ พิษณุโลก 8 ฉบับ ร้อยเอ็ด ลำปาง 7 ฉบับ นนทบุรี เพชรบูรณ์ แพร่ อุตรดิตถ์ 6 ฉบับ กรุงเทพมหานคร 5 ฉบับ มีรายงานการสอบสวนโรคเพียงรายงานเดียว 17 จังหวัด

การเกิดโรครายเดือน จำแนกตามภาค จำนวนรายงาน จำนวนผู้ป่วย

การเกิดโรคซ้ำซาก มีรายงานที่ระบุการเกิดโรคในอำเภอเดิม 35 เหตุการณ์ มีรายงานที่ระบุการเกิดโรคในอำเภอเดิม 35 เหตุการณ์ เคยเกิดโรคมาก่อนในระยะ 14 วันที่ผ่านมา 7 เหตุการณ์ เคยเกิดโรคมาก่อนในช่วง 14 วัน - 1 ปีที่ผ่านมา 16 เหตุการณ์ ไม่เคยเกิดโรคในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา 12 เหตุการณ์

ระยะเวลาการระบาด (วันเริ่มป่วยของผู้ป่วยรายแรก – วันเริ่มป่วยของผู้ป่วยรายสุดท้าย) การระบาดที่พบผู้ป่วยมากกว่าหนึ่งรายมี 75 เหตุการณ์ ระยะเวลาของการระบาด มีค่ามัธยฐาน 6 (1 – 45) วัน ระบาดไม่เกิน 7 วันมี 30 (40%) เหตุการณ์ ระบาดนาน 8-14 วันมี 12 (16%) เหตุการณ์ ระบาดนานมากกว่า 14 วันมี 7 (9%) เหตุการณ์ 26 (35%) เหตุการณ์ไม่สามารถระบุระยะเวลาการระบาดได้

สถานที่เกิดโรค (118 เหตุการณ์)

อัตราป่วย (Attack rate) อัตราป่วยในภาพรวม ประชากรอายุไม่เกิน 10 ปี ทั้งสิ้น 5,111 คน พบผู้ป่วยรวม 450 คน (อัตราป่วย 9%) สถานที่เกิดโรค จำนวนเหตุการณ์แยกตามอัตราป่วย (ร้อยละ) คิดจากประชากรอายุไม่เกิน 10 ปี 1 - 10 11 - 20 21 - 30 41 - 50 >50 รวม ครอบครัว/ชุมชน 1 - 7 10 โรงเรียน 9 2 11 ศูนย์เด็ก 4 8 5 28 20 6 49

การเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ (46 เหตุการณ์)

ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ชนิดตัวอย่าง จำนวนที่ ส่งตรวจ จำนวน Positive (%) ตัวอย่างที่ให้ผลบวก เก็บหลังวันเริ่มป่วย (วัน) Throat swab (PCR) 163 2 (1.2) 1 Nasopharyngeal swab (PCR) 3 1 (33.3) 6 Stool culture 107 4 (3.7) ระบุไม่ได้ Paired serum 61 23 (37.7) - รวม 334 30 (9%)

อัตราการตรวจพบการติดเชื้อ Enterovirus 71 ในผู้ป่วยโรคมือ เท้า ปาก พ. ศ ปี พ.ศ. จำนวนตรวจ(ราย) ให้ผลบวก จำนวน(ราย) อัตรา(ร้อยละ) 2546 174 75 43.1 2547 124 27 21.8 2548 667 5 0.76 2549 1050 74 7.1 2550 3037 169 5.6 ที่มา: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค (118 เหตุการณ์)

ลักษณะผู้ป่วย จำนวนผู้ป่วยจากรายงานทั้งหมด 821 ราย เสียชีวิต 1 ราย อายุผู้ป่วย เหตุการณ์ที่พบผู้ป่วยเพียงรายเดียวมีค่ามัธยฐานอายุผู้ป่วย 2 ปี (4 เดือน – 9 ปี) เหตุการณ์ที่พบผู้ป่วยมากกว่า 1 ราย มีอายุระหว่าง 11 เดือน – 32 ปี

อาการทางคลีนิก (180 ราย) อาการและอาการแสดงของโรคมือ เท้า ปาก ไข้ 107 (59%) ราย อุณหภูมิ 36.5 – 41 องศาเซลเซียส เฉลี่ย 38 องศาเซลเซียส ระบุอาการผื่น 151 ราย ผื่นขึ้นทั้งที่มือ เท้า และปาก 83 (56%) ราย ผื่นสองจากสามตำแหน่ง 33 (22%) ราย โดยส่วนใหญ่เป็นผื่นที่มือและเท้า ผื่นตำแหน่งเดียว คือ มือ 13 (10%) ราย เท้า 2 (1%) ราย และ ปาก 16 (11%) มีผู้ป่วย 4 รายมีผื่นที่ก้นร่วมด้วย

ภาวะแทรกซ้อนรุนแรง (2 ราย) ผู้ป่วยชาย อายุ 1 ปี 3 เดือน อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ชักเกร็งกระตุกทั้งตัว ตาเหลือกค้าง มีผื่นที่มือ ปาก เท้า CSF: RBC 980/cu.mm., WBC 450/cu.mm, protein และ sugar ปกติ Hand foot mouth with encephalitis ผู้ป่วยหญิง อายุ 11 เดือน อ.ชื่นชม จ.มหาสารคาม เสียชีวิต ไข้ ชักเกร็ง แพทย์วินิจฉัยเบื้องต้นเป็น Pharyngitis with febrile convulsion วันต่อมามีอาการหอบเหนื่อย ชีพจรเร็ว 220 ครั้งต่อนาที ชักเกร็งซ้ำ เอกซเรย์ปอดพบ Bilateral pulmonary congestion with cardiomegaly cardiac enzyme พบ CPK 1896 U/L และ CK-MB 114 U/L Seizure, severe pneumonia with respiratory failure, septic shock, pulmonary edema

การวินิจฉัยโรค การวินิจฉัยแรกรับระบุได้ 132 ราย HFM 116 (88%) Pharyngitis/tonsillitis 5 (4%) ราย Aphthous ulcer 4 (3%) ราย viral exanthematous fever, viral infection, และ Herpes gingivitis อย่างละ 2 (2%) ราย URI with allergy 1 (1%) ราย

ความไวในการตรวจจับและการออกสอบสวนโรค วันเริ่มป่วย ถึง วันพบผู้ป่วย มีค่ามัธยฐาน 2 (0 – 26) วัน ส่วนใหญ่มีระยะเวลา 0 – 8 วัน 2 เหตุการณ์ที่มีการพบผู้ป่วยล่าช้าที่ 11 และ 26 วันหลังวันเริ่มป่วยของรายแรก วันพบผู้ป่วย ถึง วันที่ได้รับแจ้ง มีค่ามัธยฐาน 0 (0 – 25) วัน ส่วนใหญ่มีระยะเวลา 0 – 7 วัน แต่พบ 1 เหตุการณ์ที่มีการแจ้งช้าที่ 25 วันหลังวันที่พบผู้ป่วย วันที่ได้รับแจ้ง ถึง วันที่ออกสอบสวนโรค มีค่ามัธยฐาน 0 (0 – 19) วัน พบ 1 เหตุการณ์ที่ออกสอบสวนโรคล่าช้า 19 วันหลังวันที่ได้รับแจ้ง

วันเริ่มป่วยของผู้ป่วยรายแรก - วันที่ออกสอบสวนควบคุมโรค ค่ามัธยฐานเท่ากับ 4 (0 – 36) วัน

การค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม (96 เหตุการณ์)

การสอบสวนโรค การสอบสวนแหล่งโรคของผู้ป่วยรายแรกมี 76 (64%) เหตุการณ์ การค้นหาผู้สัมผัส 111 (94%) เหตุการณ์ สามารถระบุจำนวน secondary case ของผู้ป่วยรายแรกได้ตั้งแต่ 1 – 3 คนต่อเหตุการณ์ จำนวน secondary case ของผู้ป่วยรายแรกรวมทั้งสิ้น 226 คน เฉลี่ย 2 คนต่อเหตุการณ์

มาตรการควบคุมโรค การแยกผู้ป่วย มีการแยกผู้ป่วย 51 (43%) เหตุการณ์ การปิดสถานที่ มีจำนวน 44 (37%) เหตุการณ์ ปิดศูนย์เด็ก/โรงเรียนได้ตั้งแต่ 2 – 11 วัน หลังวันเริ่มป่วยของผู้ป่วยรายแรก ระยะเวลาการปิดศูนย์เด็ก/โรงเรียนมีค่ามัธยฐาน 7 (4 – 14) วัน การทำความสะอาด สถานที่ 77 (65%) เหตุการณ์ ของเล่น 72 (61%) เหตุการณ์ ของใช้ส่วนตัว 67 (57%) เหตุการณ์ ห้องสุขา 58 (49%) เหตุการณ์

มาตรการควบคุมโรค การปิดสระน้ำ มีจำนวน 5 เหตุการณ์ การให้สุขศึกษาแก่ผู้ปกครอง ประชาชน 99 (84%) เหตุการณ์ การแจกเอกสารเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปากให้ผู้ปกครอง 50 (42%) เหตุการณ์ การเฝ้าระวังโรคภายหลังการระบาดมีการระบุ 88 (75%) เหตุการณ์ มีการเฝ้าระวังตั้งแต่ 7 – 14 วัน มีเหตุการณ์ที่พบผู้ป่วยรายใหม่ในระยะเฝ้าระวังอีก 7 เหตุการณ์

สรุป จำนวนรายงานโรคมือ เท้า ปากในประเทศไทยน่าจะต่ำกว่าความเป็นจริงมาก โรคนี้พบได้ทั่วทั้งประเทศไทย และพบได้ตลอดปี ในแต่ละภาค แต่ละจังหวัดมักมีการระบาดต่อเนื่องกันมากกว่าหนึ่งเหตุการณ์ การเกิดโรคมากกว่า 50% พบในโรงเรียนและศูนย์เด็ก ควรดำเนินการค้นหาผู้ป่วยและเฝ้าระวังในโรงเรียนและศูนย์เด็กทุกแห่งที่อยู่ในพื้นที่

สรุป เด็กเล็กอาจมีความรุนแรงของโรคมากกว่าเด็กที่มีอายุมากขึ้น ปัจจัยเสี่ยงที่พบมากที่สุดคือ การเล่นคลุกคลีกับผู้ป่วยรายอื่น ควรเน้นย้ำให้โรงเรียน ศูนย์เด็กและผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการแยกผู้ป่วย

Thank you for your attention