รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Funny with Action Script
Advertisements

เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 การออกแบบระบบเนวิเกชัน
การใช้ Microsoft Word 2007 / 2010 เพื่อการจัดการงานเอกสารเชิงวิชาการ
การเขียนผังงาน.
วิชาสื่อ ประสม ง แบบทดสอบกลางภาค
โครงการ การสร้างสื่อผลิต MV ( Music Video )
การสร้างเนื้อหาและการเพิ่มหน้า
โดยการใช้ Layer และ Timeline
การโต้ตอบแบบ Target Area
การใช้ Icon Start และ Stop
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
Project Management.
By Mr.Piched Tanawattana ส่วนประกอบของ Excel แถบชื่อเรื่อง Title bar ปุ่มควบคุม Control Button เวิร์กชีต Worksheet แถบสถานะ Status bar แถบเมนู Menu.
By…Porta Boonyatearana
Microsoft Word XP โดย พิสมัย น้ำจันทร์.
ระบบอัตโนมัติและการพิมพ์
การสร้างตาราง Click mouse ที่ปุ่ม จะปรากฏช่องสี่เหลี่ยมแสดง
การใช้งาน Microsoft Excel
การสร้างภาพเคลื่อนไหว
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
เริ่มต้น Photoshop CS5.
การสร้าง Digital Video ด้วย Window Movie Maker
โปรแกรม DeskTopAuthor
รายงาน เรื่อง -ส่วนประกอบที่สำคัญของ microsoft excel -การพิมพ์ข้อมูลและการสร้างสูตรเบื้องต้น จัดทำโดย.
Microsoft Excel เป็นโปรแกรมประเภท สเปรดชีต (spreadsheet) หรือตารางคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้เก็บบันทึกข้อมูลในลักษณะต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่มักเก็บข้อมูลประเภทการคำนวณ.
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
การสร้าง object และ room
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
วาดภาพสวยด้วย Paint.
บทที่ 8 การใส่ลูกเล่นในการนำเสนอ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ระบบปฏิบัติการวินโดวส์เบื้องต้น
CHAPTER 6 Macromedia Dreamweaver MX 8.
จุดประสงค์การเรียนรู้
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
เรื่อง การสร้างรายงาน
รูปจักกับซิมโบลและอินสแตนซ์ รูปจักกับซิมโบลและอินสแตนซ์
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
บทที่ 4 Power Point ขั้นตอนการทำสไลด์ รายละเอียดหน้าจอของ Power Point
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
Symbol & Instance.
การตั้งค่า Mouse จัดทำโดย นายนรินทร์ เรือนคำ เลขที่ 13
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างภาพเคลื่อนไหว
การตั้งค่า Mouse.
ประเภทของแอนิเมชั่นใน Flash
บทที่ 2 เริ่มต้นใช้งาน Flash
บทที่ 8 การสร้างวัตถุเคลื่อนไหวโดย Bone Tool
พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม Flash CS3
การเพิ่มลูกเล่นให้กับเว็บเพจ
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร
นางสาวเบญจมาศ รัตน์พิทักษ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Symbol ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ครูผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร.
เริ่มต้น Photoshop CS5.
บทที่8 การเขียน Storyboard.
ภาพนี้ชื่อว่าอะไร ? ก. แถบเมนูบาร์
อ.วชิระ หล่อประดิษฐ์ ระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
มารู้จัก Layer กัน.
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
บทที่ 2 การเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Office Word 2003
การสร้างตารางคำนวณด้วย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
เริ่มใช้งาน Microsoft Office
1. เปิดเอกสาร Flash เลือกเมนู File -> New แล้วเลือก Flash File (ActionScript 2.0) 2. ไปที่เมนู Insert -> New Symbol 3. ที่หน้าต่าง Create New Symbol -
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับโปรแกรม
เทคนิคการใช้ โปรแกรมเพาเวอร์พอยต์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene

รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene Timeline เป็นเครื่องมือหนึ่งของ Flash ที่ช่วยในการกำกับเวลาในการแสดงของภาพเคลื่อนไหวโดยมี Play head เป็นตัววิ่งผ่านแต่ละ Frame ใน Timeline เพื่อแสดงภาพหรือAnimation ที่ใส่ไว้ใน Frame นั้นๆ

รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene ความหมายของ Play head Play head เป็นเครื่องมือที่แสดงวัตถุต่างๆ ที่อยู่ใน Frame บน Stage ทำหน้าที่คล้ายกับหัวอ่านในเครื่องเล่นวิดีโอเทปที่วิ่งบน Timeline ผ่านแต่ละ Frame เพื่อแสดงวัตถุที่อยู่ใน Frame นั้น ออกมาบน Stage โดย Play head จะทำงานที่สัมพันธ์กับเวลา และแสดง ภาพแต่ละภาพออกมาบน Stage อย่างรวดเร็วทำให้ดูเหมือนมีการเคลื่อนไหวเกิดขึ้น

รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene ความหมายของ Frame Frame มีลักษณะเป็นช่องสี่เหลี่ยมเล็กที่เรียงกันเป็นแถวยาว ทำหน้าที่บรรจุภาพและเสียงที่จะจัดวางบน Stage เราจึงต้องจัดเรียงเรื่องราวบน Frame เพื่อแสดงออกมาเป็น Flash Movie โดยแต่ละ Frame จะถูกแสดงเมื่อมีการผ่านของ Play head ซึ่ง Play head ตัวนี้เองจะเป็นตัววิ่งผ่าน Frame แต่ละ Frame เพื่อแสดงภาพและเสียงที่บรรจุอยู่ใน Frame นั้น

รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene การเพิ่ม/ลบFrame ใน Timeline การเพิ่มจำนวนเฟรม - การเพิ่มจำนวนเฟรม จะช่วยให้ Movie นำเสนอได้อย่างราบรื่นและดูเป็นธรรมชาติ หรือ Smooth มากขึ้น หลักการเพิ่มจำนวนเฟรม กระทำได้ดังนี้ • คลิกเมาส์ที่ Frame ที่ต้องการจะเพิ่มบน Timeline • เลือกเมนูคำสั่ง Insert > Timeline > Frame หรือ กดคีย์ <F5> หรือ : คลิกขวา Frame ที่ ต้องการจะเพิ่ม แล้วเลือก Insert Frame การลบเฟรม เมื่อมีการเพิ่มจำนวนเฟรม ก็สามารถลบจำนวนเฟรมได้เช่นกัน โดย • คลิกขวา Frame ที่ ต้องการจะลบ แล้วเลือก Remove Frame

รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene ความหมายของ Key frame Key frame คือ Frame ที่มีวัตถุหรือมีการเปลี่ยนแปลง เราสามารถสังเกตได้ โดยจะมีจุดใน Frame หรือจะมีจุดที่จุดเริ่มต้นของ Frame ในการสร้างงาน Animation เราจะต้องกำหนด Key frame ในตำแหน่งต่างๆ และกำหนดรายละเอียดของแต่ละ Key frame ได้อย่างเหมาะสม งาน Animation ที่ได้จึงจะมีผลลัพธ์ตามที่เราต้องการ

รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene การเพิ่ม Key frame การเพิ่ม Key frame เป็นการเพิ่ม Frame โดยมีภาพหรือวัตถุของ Frame ที่อยู่ก่อนหน้าติดมาด้วย หาก Frame ก่อนหน้าเป็น Frame ว่างๆ เราก็จะได้ Frame เปล่ามา เราสามารถเพิ่ม Key frame ได้โดย • คลิกเมาส์ที่ Frame ที่ต้องการจะเพิ่มบน Timeline • เลือกคำสั่ง Insert > Timeline > Key frame หรือ กดคีย์ <F6> การลบ Key frame • คลิกเมาส์ขวาที่ Key frame ที่ต้องการจะลบบน Timeline • เลือกคำสั่ง Clear Key frame

รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene ความหมายของ Blank Key frame เป็น Key frame ที่ว่างอยู่ยังไม่มีการใช้งาน ไม่มีวัตถุหรือ Instance ใดๆ เป็น Keyframe เปล่าๆ การเพิ่ม Blank Keyframe • คลิกเมาส์ที่ Frame ที่ต้องการจะเพิ่มบน Timeline • เลือกคำสั่ง Insert >Insert >Blank Keyframe หรือ กดคีย์ <F7>

รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene Layer เป็นเหมือนการวางแผ่นใสซ้อนทับกันเป็นลำดับขั้นขึ้นมาเรื่อยๆโดยแต่ละแผ่นใสเปรียบเสมือนเป็นแต่ละ Layer บริเวณของ Layer ที่ไม่มีรูป จะเห็นทะลุถึง Layer ที่อยู่ข้างล่าง โดยกระบวนการเช่นนี้จะทำให้เกิดเป็นรูป Flash Movie ที่สมบูรณ์ นอกจากนี้ ในแต่ละ Layer จะแยกการทำงานอย่างชัดเจนมีคุณสมบัติต่างๆเป็นของตัวเอง และการแก้ไขที่ เกิดขึ้นในแต่ละ Layer นั้นจะไม่ส่งผลต่อ Layer อื่นๆ

รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene Active Layer Active Layer ในการสร้าง Flash Movie ขึ้นมานั้น แม้จะประกอบไปด้วย Layer หลาย Layer แต่เราจะ ทำงานได้เพียงทีละ Layer เท่านั้น Layer ที่เรากำลังทำงานอยู่เราเรียกว่า Active Layer สามารถ สังเกตได้จะปรากฏเป็นแบบสีดำที่ Layer นั้น และเราสามารถกำหนดสถานะต่างๆของ Layer นั้นได้ เช่นกำหนด ให้แสดงหรือซ่อน Layer, กำหนดให้ Layer นั้นสามารถปรับแต่งได้หรือไม่ได้ กำหนดให้ Layer นั้นแสดงเฉพาะเส้นโครงร่าง เป็นต้น

รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene • คลิกปุ่มสร้างLayer หรือ เลือกคำสั่ง Insert > Timeline > Layer หรือ . คลิก ที่ การลบ Layer • คลิกเลือกLayer ที่ต้องการลบ • คลิกปุ่ม Delete Layer คลิก การเปลี่ยนชื่อLayer • ดับเบิ้ลคลิกที่ชื่อ Layer เดิม แล้วป้อนชื่อใหม่จากนั้นกดปุ่ม Enter

รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene

รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene ทำได้โดยให้นำ เมาส์ไปคลิกที่ Insert ด้านบนตรงแถบ Menu Bar แล้วเลือก Scene โปรแกรมจะเพิ่ม Scene ใหม่ให้ ในกรณีที่มีการทำงานหลายฉาก หากต้องการทำการแก้ไขฉาก หรือ Scene อื่นๆ ให้กดปุ่ม เพื่อเลือก Scene ที่ต้องการ ดังภาพ

แบบฝึกหัด เรื่อง รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene 2. Play head คืออะไร 3. Frame คืออะไร 4. การเพิ่ม Frame ต้องทำอย่างไร 5. Key frame คืออะไร 6. จงอธิบายความหมายของ Layer 7. การสร้าง Layer ใหม่ ต้องทำอย่างไร 8. Blank Keyframe มีลักษณะอย่างไร 9. Key frame มีลักษณะอย่างไร 10. จงอธิบายความหมายของ Scene