Java Desktop Application #4

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบเพิ่มแก้ไขข้อมูล หน่วยเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา.
Advertisements

Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
Lab Part Nattee Niparnan
Component องค์ประกอบของ GUI.
Swing Component Basic Component.
การใช้ MessageBox-InputBox
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
Project Management.
จดหมายเวียน (Mail Merge)
การพิมพ์เอกสารออกทาง เครื่องพิมพ์. การตรวจเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Print Preview เราสามารถตรวจสอบความถูกต้องของ เอกสารก่อนสั่งพิมพ์โดยใช้คำสั่ง Print Preview.
Atlas.ti Date 24/03/10.
ส่วนของการเขียนโค๊ด ใน VB การเขียนโค๊ดจะเป็นแบบ Event Driven
โปรแกรม Microsoft Access
Lab 8 ตัวแปรและชนิดข้อมูล
การสร้างส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (5) การสร้างเมนู
ASP.NET Server Control.
Suphot Sawattiwong Sound On Game Suphot Sawattiwong
บทที่ 6 เมธอด.
Chapter 6 Decision Statement
โปรแกรม DeskTopAuthor
รายงาน เรื่อง -ส่วนประกอบที่สำคัญของ microsoft excel -การพิมพ์ข้อมูลและการสร้างสูตรเบื้องต้น จัดทำโดย.
การแปลงชนิดข้อมูลของตัวแปร
การรับและแสดง ข้อมูล ง การเขียนไดนามิกเว็บ เพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การประยุกต์ใช้ ง การเขียนโปรแกรมบนระบบไร้ สาย.
พื้นฐานการรับค่า จากผู้ใช้งานด้วย EDITTEXT ง การเขียนโปรแกรมบนระบบไร้ สาย.
การสร้างเหตุการณ์ click ให้กับปุ่มกด Button
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
การ Generate ตารางข้อมูลให้เป็นแผนที่โดยใช้ ArcView
การรับรองรายงานการประชุม ผ่านเว็บไซต์จังหวัดลพบุรี
โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอรทึ่ม ( ) Lec04 : [ การแปลงจาก FlowChart.
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม Do Loop Until โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอริทึ่ม Lec03 : 25/03/2551 การทำงานกับ Event ต่าง ๆ โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม
การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
Java Desktop Application #5
วิชา :: การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ขั้นสูง
Modular Algorithm Function & Procedure By Nattapong Songneam
การใช้งานเครื่องมือในหน้าต่าง ToolBox
Selection Nattapong Songneam.
หลักการทำ Animation แบบง่ายๆ
เขียนโปรแกรมเพื่อแสดงข้อมูลพนักงาน ด้วย ADO.NET vs. DataReader
การใช้งาน Hatch Brush , Texture Brush
การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ขั้นสูง
Extra_08_Test_Modular_Calculator
วิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก intro_vb_net_06 การสร้างกราฟเส้นตรงด้วย VB.NET
วิชาการเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม
วิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก
PHP & MySQL ระบบจัดการสินค้า
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วย vb.net2005
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
การใช้งาน High Level API : List
บทที่ 3 การสร้าง Appication แบบ Windows Form
คำสั่งรับค่าและฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
การเขียนโปรแกรมสั่งงานตัวควบคุม (Control)
Java for Android Mobile Application Developers
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ Microsoft Visual C#
บทที่ 9 การใช้งานฟอร์มและคอนโทรลต่าง ๆ
การทำงานและคำสั่งพื้นฐาน
การจัดวางคอมโพเนนต์กราฟิก
Object Oriented Programming : OOP
การสร้างฟอร์ม(Form) ด้วยภาษา HTML
chapter5 - คลาสนามธรรม - อินเตอร์เฟสคลาส
คอนสตรัคเตอร์ (Constructor)
อ.วิวัฒน์ ชินนาทศิริกุล
การกระทำทางคณิตศาสตร์
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Java Desktop Application #4 โปรแกรมคำนวณ พ.ท. แบบต่าง ๆ NetBean 6.0 & swing set โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม http://www.siam2dev.com

ออกแบบหน้าจอโปรแกรม ดังรูป หลักการทำงาน โปรแกรมคำนวณพื้นที่ต่าง ๆ แบบนี้สามารถเลือกได้ว่าต้องการ คำนวณค่าใด ๆ โดยผู้ใช้จำเป็นต้องเลือก ค่าการคำนวณ จาก ComboBox แล้ว ก็ ป้อนข้อมูลที่จำเป็นจากนั้นก็ กด ปุ่ม OK แล้วโปรแกรมจะทำการคำนวณ และแสดง ผลลัพธ์ ออกมา ดังรูป

สร้าง โปรเจ็กต์ใหม่ ไปที่เมนู File เลือก New Project เลือก Java Desktop Application กำหนดชื่อ desktop_app4

รู้จักและใช้งาน control ต่าง ๆ jLabel jTextField jButton jComboBox

ออกแบบหน้าจอโปรแกรม jComboBox jTextField jLabel

ออกแบบหน้าจอโปรแกรม (ต่อ…) Button jLabel

การกำหนดคุณสมบัติของ jComboBox1 - model :: ใช้สำหรับกำหนด/เพิ่ม รายการที่อยู่ใน jComboBox1 - selectedItem :: สำหรับแสดงรายการที่ถูกเลือกจากรายการทั้งหมดที่อยู่ใน model การกำหนดคุณสมบัติ สามารถทำได้ดังนี้ Click เลือกที่ jComboBox1 ในหน้าต่าง Properties ให้ เลือก model จะปรากฏหน้าต่างในการเพิ่มรายการ ซึ่ง จะมี item1 – item4 ปรากฏอยู่แต่เรา สามารถลบ และพิมพ์รายการของเราได้เอง ในช่อง item แล้วก็กด ปุ่ม add ในที่นี้ให้เพิ่มรายการ ดังตัวอย่างในรูป

Code ในส่วนของ jComboBox มีการเลือกค่าใด ๆ การเข้าไปเขียนคำสั่งในเหตุการณ์ jComboBox1ItemStateChanged ทำได้ดังนี้ Click ขวาที่ jComboBox1 เลือก Event เลือก Item เลือก ItemStateChanged private void jComboBox1ItemStateChanged(java.awt.event.ItemEvent evt) { // TODO add your handling code here: jLabel1.setText(jComboBox1.getSelectedItem().toString()); }

คำสั่งในปุ่ม OK if(jComboBox1.getSelectedIndex() == 0) { private void jButton1MouseClicked(java.awt.event.MouseEvent evt) { // TODO add your handling code here: jLabel1.setText(jComboBox1.getSelectedItem().toString()); if(jComboBox1.getSelectedIndex() == 0) { // this is circle area calculation .. int n1 = Integer.parseInt(jTextField1.getText()); double cArea = Math.PI*Math.pow(n1,2); jLabel2.setText(Double.toString(cArea)); } else if (jComboBox1.getSelectedIndex() == 1) { // this is Rectangle area calculation .. }

Code ในปุ่ม Cancel การเข้าไปเขียนคำสั่งในเหตุการณ์ jButton2MouseClicked ทำได้ดังนี้ Click ขวาที่ jButton2 เลือก Event เลือก mouse เลือก mouseclick private void jButton2MouseClicked(java.awt.event.MouseEvent evt) { // TODO add your handling code here: jTextField1.setText(""); jTextField2.setText(""); jTextField3.setText(""); jLabel1.setText(""); jLabel2.setText(""); jTextField1.requestFocus(); }

อธิบายคำสั่งที่สำคัญ :: การแสดงข้อความใน jLabel หากเราต้องการพิมพ์ข้อความไปที่ Label ใด ๆ ก็ใช้ method setText() ดัง ตัวอย่าง ถ้าต้องการพิมพ์ คำว่า “Hello” ใน jLabel1 ก็เขียนคำสั่งได้ ดังนี้ ถ้าหากข้อความที่ต้องการแสดงนั้นเป็นค่าจากตัวแปร ก็ ไม่ต้องใส่เครื่องหมาย “” ดังตัวอย่าง jLabel1.setText(“Hello”); String str = “Hello”; jLabel1.setText(str);

อธิบายคำสั่งที่สำคัญ :: การลบข้อความใน jLabel หากเราต้องการลบข้อความที่อยู่ใน Label ใด ๆ ก็ใช้ method setText() เหมือนกันกับตอนพิมพ์ข้อความแต่ต่างกันตรงไม่ต้องระบุอาร์กิวเมนต์หลัง method ดังตัวอย่าง ถ้าต้องการลบข้อความใน jLabel1 ก็เขียนคำสั่งได้ ดังนี้ jLabel1.setText(“”);

อธิบายคำสั่งที่สำคัญ :: การแสดงค่าที่ผู้ใช้ได้เลือกจาก jComboBox1 การเข้าไปเขียนคำสั่งในเหตุการณ์ jComboBox1ItemStateChanged ทำได้ดังนี้ Click ขวาที่ jComboBox1 เลือก Event เลือก Item เลือก ItemStateChanged private void jComboBox1ItemStateChanged(java.awt.event.ItemEvent evt) { // TODO add your handling code here: jLabel1.setText(jComboBox1.getSelectedItem().toString()); }

อธิบายคำสั่งที่สำคัญ :: การแสดงค่าที่ผู้ใช้ได้เลือกจาก jComboBox1 jLabel1.setText(jComboBox1.getSelectedItem().toString()); หมายถึง เราจะแสดงข้อความที่ได้จาก การที่ผู้ใช้เลือกรายการ(selectedItem) ที่อยู่ใน jComboBox1 ก็สามารถใช้ method getSelectedItem() ของ jComboBox1 นั่นเอง

การปรับแต่งหน้าจอโปรแกรมให้ สมบูรณ์ขึ้น เพิ่ม jLabel หน้า jTextField ทั้ง 3

การแสดง / ซ่อน swing control ในบางครั้งเราจำเป็นต้องแสดง/ซ่อน ออบเจ็กต์บางตัวเพื่อให้โปรแกรมสามารถรับค่า ข้อมูลให้เหมาะกับ การคำนวณบางประเภท เช่น หากเราต้องการคำนวณค่า พ.ท. สามเหลี่ยม ข้อมูลที่ต้องรับเข้าไป ก็ คือ ค่า ฐาน กับ สูง ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้องแสดง jTextFied เฉพาะ ตัวที่ 1 และ 2 เท่านั้น ดังรูป สั่งให้แสดง/ซ่อน ก็ ใช้ method setVisible(boolean b) โดย ถ้า b เป็น true ก็สั่งให้แสดงออบเจ็กต์ ถ้า b เป็น false ก็สั่งให้ซ่อนออบเจ็กต์

การแสดง / ซ่อน swing control จากตัวอย่างข้างต้น นั้นเราสามารถเข้าไปเขียนคำสั่งได้ในเหตุการณ์ ตอนที่ผู้ใช้เลือกรายการจาก jComboBox1 นั่นเอง หรือ เหตุการณ์ jComboBox1ItemStateChanged private void jComboBox1ItemStateChanged(java.awt.event.ItemEvent evt) { // TODO add your handling code here: }

ต.ย. คำสั่งใน jComboBox1ItemStateChanged private void jComboBox1ItemStateChanged(java.awt.event.ItemEvent evt) { // TODO add your handling code here: if(jComboBox1.getSelectedIndex()==0) { jLabel3.setText("รัศมี :"); jLabel4.setVisible(false); jTextField2.setVisible(false); jLabel5.setVisible(false); jTextField3.setVisible(false); } else if(jComboBox1.getSelectedIndex()==1) { jLabel3.setText("ฐาน :"); jLabel4.setText("สูง :"); jLabel4.setVisible(true); jTextField2.setVisible(true); }