สำนักมาตรฐานการสอบบัญชีภาษีอากร. รู้ลึก CPTA Certified Public Tax Accountant สุเทพ พงษ์พิทักษ์ สำนักมาตรฐานการสอบบัญชีภาษีอากร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
Advertisements

ภารกิจกำกับดูแลและตรวจสอบภาษี
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
โดย ผู้อำนวยการศูนย์บริการการศึกษา
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
คดีความรับผิดชอบในการ ค้างชำระค่าชลประทาน
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. คำนิยาม ขาย สินค้า การบริการ ใบกำกับภาษี ภาษีขาย ภาษีซื้อ 2. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี 3. การยกเว้น.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
กฎหมายภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรในส่วนที่เกี่ยวกับ “สหกรณ์”
การใช้กฎหมายเกี่ยวกับการชำระบัญชี
การคัดเลือกฯ ตาม ว 28/2547.
การคัดเลือกเพื่อเปลี่ยนสายงาน
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
การนำนโยบายจรรยาบรรณ ลงสู่การปฏิบัติในระดับคณะ/หน่วยงาน
โรงงานไพ่ กรมสรรพสามิต
โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง (รยส.)
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง ข้อมูลทั่วไป ธนาคารออมสิน ข้อมูลเกี่ยวกับสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด.
ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.)
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล (สสร.)
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
แนวทางการสนับสนุนงบประมาณ องค์กรเอกชนด้านเอดส์
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2553 วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ การฝึกอบรมเรื่องก๊าซปิโตรเลียมเหลว การระวังและการป้องกันอันตรายของบุคลากรเฉพาะที่รับผิดชอบดูแลสถานที่ใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลว.
ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการให้ความเห็นชอบรายละเอียดเกี่ยวกับการฝึกเตรียมเข้าทำงาน ประกาศราชกิจจานุเบกษา.
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการโอนสิทธิตามใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงานพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการ พลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข เกี่ยวกับการกำหนดและจ่าย ค่าทดแทน (
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง อัตราเงินสมทบ วิธีการเรียกเก็บเงินสมทบ ค่าจ้างขั้นต่ำและขั้นสูงที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศกรมปศุสัตว์ เรื่อง การแจ้ง การออกใบรับแจ้ง การขอต่ออายุและ การต่ออายุใบรับแจ้งการดำเนินการวัตถุอันตรายชนิดที่ 2.
ในห้องเรียนออนไลน์ (Web-Based Instruction) บนระบบบริการ Moodle LMS
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
แนวทางการวางแผนภาษีธุรกิจเฉพาะ Specific Business Tax Planning
การบริการการจัดเก็บภาษีสรรพากร
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
จิตรา ณีศะนันท์ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี
หน่วยที่ 13 การจัดทำรายงาน.
กลุ่มพัฒนา ระบบบริหาร กรมการข้าว. พระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ ประชาธิ ปไตย ปกปัก รักษา ประโยช น์ คุ้มครอ งสิทธิ ส่วน บุคคล.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
PRT บริษัท ภูรีภาค จำกัด “แก่นแท้ของ พรบ. คุ้มครองแรงงานที่ควรรู้”
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558
พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ ( ฉบับที่ 211) เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีเงินได้
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับ ภาษีเงินได้ ( ฉบับที่ 218) เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขการได้รับยกเว้นภาษีเงินได้
บทที่ 7 อากรแสตมป์.
สุทธิรัตน์ รัตนโชติ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542
การประเมินบุคคลและผลงานเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งนายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรม สาขา )
คำชี้แจงกระทรวงแรงงาน เรื่อง พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 12 กันยายน 2554.
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ
บทที่ 1 หลักการและโครงสร้างของภาษีอากร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักมาตรฐานการสอบบัญชีภาษีอากร

รู้ลึก CPTA Certified Public Tax Accountant สุเทพ พงษ์พิทักษ์ สำนักมาตรฐานการสอบบัญชีภาษีอากร

การตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร พ.ศ ตราประมวลรัษฎากร พ.ศ ตราประมวลรัษฎากร เพื่อปรับปรุงการรัษฎากรตามหลักความเป็นธรรมแก่สังคม เพื่อปรับปรุงการรัษฎากรตามหลักความเป็นธรรมแก่สังคม พระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากร พ.ศ ใช้ บังคับ 1 เมษายน 2482 ยกเลิก พระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากร พ.ศ ใช้ บังคับ 1 เมษายน 2482 ยกเลิก (1) พระราชบัญญัติเงินรัชชูปการ พ.ศ (1) พระราชบัญญัติเงินรัชชูปการ พ.ศ (2) พระราชบัญญัติลักษณะเก็บเงินค่านา ร.ศ.119 (2) พระราชบัญญัติลักษณะเก็บเงินค่านา ร.ศ.119 (3) พระราชบัญญัติลักษณะการเก็บภาษีค่าที่ไร่อ้อย พุทธศักราช 2464 (3) พระราชบัญญัติลักษณะการเก็บภาษีค่าที่ไร่อ้อย พุทธศักราช 2464 (4) พระราชบัญญัติเปลี่ยนวิธีเก็บภาษียา ร.ศ.119 (4) พระราชบัญญัติเปลี่ยนวิธีเก็บภาษียา ร.ศ.119 (5) ประกาศพระราชทานยกเลิกอากรสวนใหญ่ค้างเก่า และเดินสำรวจต้นผลไม้ใหม่ สำหรับเก็บเงินอากรสวนใหญ่ รัตนโกสินทร์ศก 130 (5) ประกาศพระราชทานยกเลิกอากรสวนใหญ่ค้างเก่า และเดินสำรวจต้นผลไม้ใหม่ สำหรับเก็บเงินอากรสวนใหญ่ รัตนโกสินทร์ศก 130 (6) พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ พ.ศ (6) พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ พ.ศ (7) พระราชบัญญัติภาษีการค้า พ.ศ (7) พระราชบัญญัติภาษีการค้า พ.ศ (8) พระราชบัญญัติภาษีการธนาคารและการประกันภัย พ.ศ (8) พระราชบัญญัติภาษีการธนาคารและการประกันภัย พ.ศ (9) พระราชบัญญัติอากรแสตมป์ พ.ศ (9) พระราชบัญญัติอากรแสตมป์ พ.ศ. 2475

การตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร พ.ศ พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ พ.ศ พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ ใช้บังคับ 6 พฤศจิกายน 2482 ใช้บังคับ 6 พฤศจิกายน 2482 ผู้ประกอบการกิจการที่ต้องเสียภาษีโรงค้ามีหน้าที่จัดทำบัญชีตามที่ กฎหมายกำหนด บางประเภทบัญชีอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ผู้ประกอบการกิจการที่ต้องเสียภาษีโรงค้ามีหน้าที่จัดทำบัญชีตามที่ กฎหมายกำหนด บางประเภทบัญชีอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง งบบัญชีอย่างน้อย 12 เดือนต่อหนึ่งครั้ง งบบัญชีอย่างน้อย 12 เดือนต่อหนึ่งครั้ง ไม่มีข้อกำหนดให้ตรวจสอบและรับรองบัญชี ไม่มีข้อกำหนดให้ตรวจสอบและรับรองบัญชี พ.ศ พระราชบัญญัติการบัญชี (ฉบับที่ 2) พ.ศ พ.ศ พระราชบัญญัติการบัญชี (ฉบับที่ 2) พ.ศ ใช้บังคับ 10 กุมภาพันธ์ 2496 เป็นต้นไป พร้อมกับการแก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร ใช้บังคับ 10 กุมภาพันธ์ 2496 เป็นต้นไป พร้อมกับการแก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร ผู้ประกอบการกิจการที่ต้องจดทะเบียนการค้าตามประมวลรัษฎากรหน้าที่ จัดทำบัญชีตามที่กฎหมายกำหนด ผู้ประกอบการกิจการที่ต้องจดทะเบียนการค้าตามประมวลรัษฎากรหน้าที่ จัดทำบัญชีตามที่กฎหมายกำหนด กำหนดให้จัดทำบัญชี กำหนดให้จัดทำบัญชี

การตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร ได้มีแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร มาตรา 3 สัตต โดยพระราช บัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 10) พ.ศ ใช้บังคับ 10 กุมภาพันธ์ 2496 เป็นต้นไป ดังนี้ ได้มีแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร มาตรา 3 สัตต โดยพระราช บัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 10) พ.ศ ใช้บังคับ 10 กุมภาพันธ์ 2496 เป็นต้นไป ดังนี้ “มาตรา 3 สัตต เพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บภาษีอากรตามประมวล รัษฎากร การตรวจสอบและรับรองบัญชีจะกระทำได้ก็แต่โดยบุคคลที่ได้รับ ใบอนุญาตจากอธิบดี “มาตรา 3 สัตต เพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บภาษีอากรตามประมวล รัษฎากร การตรวจสอบและรับรองบัญชีจะกระทำได้ก็แต่โดยบุคคลที่ได้รับ ใบอนุญาตจากอธิบดี บุคคลที่จะขอใบอนุญาตจากอธิบดีตามความในวรรคก่อน ต้องเป็นผู้ ที่มีคุณสมบัติและปฏิบัติตามระเบียบที่อธิบดีกำหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรี บุคคลที่จะขอใบอนุญาตจากอธิบดีตามความในวรรคก่อน ต้องเป็นผู้ ที่มีคุณสมบัติและปฏิบัติตามระเบียบที่อธิบดีกำหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรี บุคคลใดได้รับใบอนุญาตดังกล่าวแล้ว ถ้าฝ่าฝืนระเบียบที่อธิบดี กำหนด อธิบดีอาจพิจารณาสั่งถอนใบอนุญาตเสียก็ได้ บุคคลใดได้รับใบอนุญาตดังกล่าวแล้ว ถ้าฝ่าฝืนระเบียบที่อธิบดี กำหนด อธิบดีอาจพิจารณาสั่งถอนใบอนุญาตเสียก็ได้ บทบัญญัติแห่งมาตรานี้ จะใช้บังคับในเขตจังหวัดใด ให้อธิบดี ประกาศโดยอนุมัติรัฐมนตรี บทบัญญัติแห่งมาตรานี้ จะใช้บังคับในเขตจังหวัดใด ให้อธิบดี ประกาศโดยอนุมัติรัฐมนตรี การประกาศให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา” การประกาศให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา”

การตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากรดังกล่าว แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากรดังกล่าว เป็นการปรากฏตัวของแนวคิดที่จะให้มีการตรวจสอบและรับรองบัญชี เพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร เป็นปฐม ในประเทศไทย เป็นการปรากฏตัวของแนวคิดที่จะให้มีการตรวจสอบและรับรองบัญชี เพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร เป็นปฐม ในประเทศไทย ได้แนวคิดจากต่างประเทศที่ได้จัดให้มีการตรวจสอบและรับรองทางภาษี อากรกันบ้างแล้วในหมู่ประเทศผู้แพ้สงครามโลกครั้งที่ 2 อาทิ ญี่ปุ่น เยอรมนี ออสเตรีย ซึ่งรัฐมีความต้องการรายได้จากค่าภาษีอากรมาเพื่อ ใช้ในการบูรณะและพัฒนาประเทศเป็นอย่างมาก ได้แนวคิดจากต่างประเทศที่ได้จัดให้มีการตรวจสอบและรับรองทางภาษี อากรกันบ้างแล้วในหมู่ประเทศผู้แพ้สงครามโลกครั้งที่ 2 อาทิ ญี่ปุ่น เยอรมนี ออสเตรีย ซึ่งรัฐมีความต้องการรายได้จากค่าภาษีอากรมาเพื่อ ใช้ในการบูรณะและพัฒนาประเทศเป็นอย่างมาก สอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยการบัญชี สอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยการบัญชี เป็นเพียงการปรากฏเป็นแนวความคิดเท่านั้น มิได้มีการ Implement หรือปริวรรตให้เกิดผลทางปฏิบัติใดๆ จนเวลาล่วงเลยไปถึงเกือบ 28 ปี (ปี2523) เป็นเพียงการปรากฏเป็นแนวความคิดเท่านั้น มิได้มีการ Implement หรือปริวรรตให้เกิดผลทางปฏิบัติใดๆ จนเวลาล่วงเลยไปถึงเกือบ 28 ปี (ปี2523) จวบจนกระทั่งปี 2523 จึงได้มีการปัดฝุ่นนำบทบัญญัติมาตรา 3 สัตต มา พิจารณาออกประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เพื่อกำหนดให้มีการ ตรวจสอบและรับรองบัญชี จวบจนกระทั่งปี 2523 จึงได้มีการปัดฝุ่นนำบทบัญญัติมาตรา 3 สัตต มา พิจารณาออกประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เพื่อกำหนดให้มีการ ตรวจสอบและรับรองบัญชี

การตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร พ.ศ พ.ศ ได้มีการตราพระราชบัญญัติการสอบบัญชี พ.ศ ได้มีการตราพระราชบัญญัติการสอบบัญชี พ.ศ จัดให้มีการคณะกรรมการควบคุมวิชาชีพสอบบัญชี (ก.บช.) จัดให้มีการคณะกรรมการควบคุมวิชาชีพสอบบัญชี (ก.บช.) ให้ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (CPA) ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนมีหน้าที่ ตรวจสอบและรับรองบัญชีตามกฎหมายว่าด้วยการบัญชี สำหรับบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย หรือนิติบุคคลที่ ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศและประกอบกิจการในประเทศไทย ให้ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (CPA) ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนมีหน้าที่ ตรวจสอบและรับรองบัญชีตามกฎหมายว่าด้วยการบัญชี สำหรับบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย หรือนิติบุคคลที่ ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศและประกอบกิจการในประเทศไทย พ.ศ พ.ศ จัดให้มีการสอบและขึ้นทะเบียน CPA เป็นครั้งแรกในประเทศไทย จัดให้มีการสอบและขึ้นทะเบียน CPA เป็นครั้งแรกในประเทศไทย

การตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร พ.ศ พ.ศ คณะปฏิวัติได้ออกประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 285 (ปว. 285) เพื่อ ใช้บังคับแทนพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ คณะปฏิวัติได้ออกประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 285 (ปว. 285) เพื่อ ใช้บังคับแทนพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ ตาม ปว. 285 ยังคงกำหนดให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทั้งที่ตั้ง ขึ้นตามกฎหมายไทย และที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ มีหน้าที่ จัดทำบัญชีให้ถูกต้องครบถ้วนตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป (GAAP : ) และนำส่งงบการเงินที่มี CPA เป็นผู้ตรวจสอบและแสดงความเห็นใน งบการเงิน ตาม ปว. 285 ยังคงกำหนดให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทั้งที่ตั้ง ขึ้นตามกฎหมายไทย และที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ มีหน้าที่ จัดทำบัญชีให้ถูกต้องครบถ้วนตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป (GAAP : ) และนำส่งงบการเงินที่มี CPA เป็นผู้ตรวจสอบและแสดงความเห็นใน งบการเงิน

การตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร พ.ศ (ต่อ) พ.ศ (ต่อ) ตาม ปว. 285 ยังมิได้กำหนดให้กิจการร่วมค้าตามมาตรา 39 แห่ง ประมวลรัษฎากร เป็นผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี เพราะในขณะนั้นยังไม่ได้ แก้ไขเพิ่มเติมคำว่า “บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลให้รวมถึงกิจการ ร่วมค้า ตาม ปว. 285 ยังมิได้กำหนดให้กิจการร่วมค้าตามมาตรา 39 แห่ง ประมวลรัษฎากร เป็นผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี เพราะในขณะนั้นยังไม่ได้ แก้ไขเพิ่มเติมคำว่า “บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลให้รวมถึงกิจการ ร่วมค้า จนกระทั่งปี 2521 ได้มีการเพิ่มความหมายของคำว่า “บริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคล” ตามมาตรา 39 โดยพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติม ประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 5) พ.ศ ใช้บังคับ 31 ธันวาคม 2521 เป็นต้นไป ให้หมายความรวมถึงกิจการร่วมค้าด้วย จนกระทั่งปี 2521 ได้มีการเพิ่มความหมายของคำว่า “บริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคล” ตามมาตรา 39 โดยพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติม ประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 5) พ.ศ ใช้บังคับ 31 ธันวาคม 2521 เป็นต้นไป ให้หมายความรวมถึงกิจการร่วมค้าด้วย กิจการร่วมค้าตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร จึงไม่มีหน้าที่จัดทำ บัญชีตาม ปว. 285 แต่มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล และจัดทำบัญชี งบดุล บัญชีทำการ และบัญชีกำไรขาดทุนตามมาตรา 68 ทวิ และนำส่ง พร้อมกับการยื่นแบบ ภ.ง.ด.50 ตามมาตรา 69 แห่งประมวลรัษฎากร กิจการร่วมค้าตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร จึงไม่มีหน้าที่จัดทำ บัญชีตาม ปว. 285 แต่มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล และจัดทำบัญชี งบดุล บัญชีทำการ และบัญชีกำไรขาดทุนตามมาตรา 68 ทวิ และนำส่ง พร้อมกับการยื่นแบบ ภ.ง.ด.50 ตามมาตรา 69 แห่งประมวลรัษฎากร

การตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร พ.ศ พ.ศ อธิบดีกรมสรรพากร (ดร. พนัส สิมะเสถียร) โดยอนุมัติรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลังอาศัยอำนาจตามมาตรา 3 สัตต ออกประกาศอธิบดี กรมสรรพากร เกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรองบัญชี เรื่อง กำหนด ระเบียบเกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรองบัญชีตามมาตรา 3 สัตต แห่ง ประมวลรัษฎากร ลงวันที่ 19 มิถุนายน 2523 อธิบดีกรมสรรพากร (ดร. พนัส สิมะเสถียร) โดยอนุมัติรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลังอาศัยอำนาจตามมาตรา 3 สัตต ออกประกาศอธิบดี กรมสรรพากร เกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรองบัญชี เรื่อง กำหนด ระเบียบเกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรองบัญชีตามมาตรา 3 สัตต แห่ง ประมวลรัษฎากร ลงวันที่ 19 มิถุนายน 2523 กำหนดให้การตรวจสอบและรับรองบัญชีงบดุล บัญชีทำการ และบัญชี กำไรขาดทุน ซึ่งบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลต้องจัดทำและยื่นต่อ เจ้าพนักงานประเมินพร้อมกับแบบแสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคล หรือ ภ.ง.ด.50 ในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชีนั้น ให้กระทำได้โดย “ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต” ตามกฎหมายว่าด้วยผู้สอบบัญชี (CPA) โดย ถือว่า CPA เป็นผู้ได้รับอนุญาตจากอธิบดีกรมสรรพากรตามมาตรา 3 สัตต แล้ว กำหนดให้การตรวจสอบและรับรองบัญชีงบดุล บัญชีทำการ และบัญชี กำไรขาดทุน ซึ่งบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลต้องจัดทำและยื่นต่อ เจ้าพนักงานประเมินพร้อมกับแบบแสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคล หรือ ภ.ง.ด.50 ในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชีนั้น ให้กระทำได้โดย “ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต” ตามกฎหมายว่าด้วยผู้สอบบัญชี (CPA) โดย ถือว่า CPA เป็นผู้ได้รับอนุญาตจากอธิบดีกรมสรรพากรตามมาตรา 3 สัตต แล้ว

การตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร พ.ศ (ต่อ) พ.ศ (ต่อ) ไม่มีการอ้างวัตถุประสงค์ที่บัญญัติไว้ในตอนต้นของมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร คือ ข้อความว่า “เพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บ ภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร” แต่อย่างใด ไม่มีการอ้างวัตถุประสงค์ที่บัญญัติไว้ในตอนต้นของมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร คือ ข้อความว่า “เพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บ ภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร” แต่อย่างใด เนื่องเพราะมีข้อสมมติฐาน (Assumption) ว่า หากบริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคลได้จัดทำบัญชีตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป (GAAP) หรือตามมาตรฐานการบัญชีแล้ว บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติ บุคคลนั้น มีฐานข้อมูลทางการเงินที่ดี โดยบันทึกรายการทางการเงิน อย่างถูกต้อง ครบถ้วน จะนำไปสู่การคำนวณภาษีอากร โดยเฉพาะการ ปรับปรุงกำไรสุทธิทางบัญชีให้เป็นกำไรสุทธิทางภาษีอากรเพื่อเสียภาษี เงินได้นิติบุคคลโดยถูกต้องและครบถ้วน และเป็นการง่ายที่ กรมสรรพากรจะทำการตรวจสอบความถูกต้องทางภาษีอากรได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เนื่องเพราะมีข้อสมมติฐาน (Assumption) ว่า หากบริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคลได้จัดทำบัญชีตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป (GAAP) หรือตามมาตรฐานการบัญชีแล้ว บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติ บุคคลนั้น มีฐานข้อมูลทางการเงินที่ดี โดยบันทึกรายการทางการเงิน อย่างถูกต้อง ครบถ้วน จะนำไปสู่การคำนวณภาษีอากร โดยเฉพาะการ ปรับปรุงกำไรสุทธิทางบัญชีให้เป็นกำไรสุทธิทางภาษีอากรเพื่อเสียภาษี เงินได้นิติบุคคลโดยถูกต้องและครบถ้วน และเป็นการง่ายที่ กรมสรรพากรจะทำการตรวจสอบความถูกต้องทางภาษีอากรได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

การตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร พ.ศ (ต่อ) พ.ศ (ต่อ) ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรดังกล่าว เป็นผลให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วน นิติบุคคลตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร และมีหน้าที่เสียภาษี เงินได้นิติบุคคลจากฐานกำไรสุทธิ ต้องยื่นแบบ ภ.ง.ด.50 พร้อมกับ แนบงบดุล ที่มีการตรวจสอบและรับรองโดย CPA ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรดังกล่าว เป็นผลให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วน นิติบุคคลตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร และมีหน้าที่เสียภาษี เงินได้นิติบุคคลจากฐานกำไรสุทธิ ต้องยื่นแบบ ภ.ง.ด.50 พร้อมกับ แนบงบดุล ที่มีการตรวจสอบและรับรองโดย CPA ในขณะที่ “กิจการร่วมค้า” ไม่มีหน้าที่จัดทำบัญชีและนำส่งงบการเงิน ตาม ปว. 285 ซึ่งจัดได้ว่า เป็นความแตกต่างของการตรวจสอบและ รับรองทางภาษีอากรกับทางบัญชีการเงินที่ชัดเจนประการหนึ่ง ในขณะที่ “กิจการร่วมค้า” ไม่มีหน้าที่จัดทำบัญชีและนำส่งงบการเงิน ตาม ปว. 285 ซึ่งจัดได้ว่า เป็นความแตกต่างของการตรวจสอบและ รับรองทางภาษีอากรกับทางบัญชีการเงินที่ชัดเจนประการหนึ่ง กรมสรรพากรมิได้ดำเนินการใดเกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรอง บัญชี นอกเหนือไปจากการกำหนดให้ CPA เป็นผู้ตรวจสอบและ รับรองบัญชี เว้นแต่มีการเพิกถอนใบอนุญาตการเป็นผู้ตรวจสอบและ รับรองบัญชี CPA รายหนึ่งที่กระทำผิดฝ่าฝืนบทบัญญัติแห่งประมวล รัษฎากร กรมสรรพากรมิได้ดำเนินการใดเกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรอง บัญชี นอกเหนือไปจากการกำหนดให้ CPA เป็นผู้ตรวจสอบและ รับรองบัญชี เว้นแต่มีการเพิกถอนใบอนุญาตการเป็นผู้ตรวจสอบและ รับรองบัญชี CPA รายหนึ่งที่กระทำผิดฝ่าฝืนบทบัญญัติแห่งประมวล รัษฎากร

การตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร พ.ศ พ.ศ ได้มีการตราพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ เมื่อ 4 พฤษภาคม 2543 ยกเลิกประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 285 หรือ ปว. 285 โดย ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่ 10 สิงหาคม 2543 เป็นต้นไป ได้มีการตราพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ เมื่อ 4 พฤษภาคม 2543 ยกเลิกประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 285 หรือ ปว. 285 โดย ให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่ 10 สิงหาคม 2543 เป็นต้นไป ให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล รวมทั้งกิจการร่วมค้าตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร เป็นผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีและจัดให้มีการ ตรวจสอบและแสดงความเห็นเกี่ยวกับงบการเงินโดย CPA ให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล รวมทั้งกิจการร่วมค้าตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร เป็นผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีและจัดให้มีการ ตรวจสอบและแสดงความเห็นเกี่ยวกับงบการเงินโดย CPA รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์อาศัยอำนาจตามมาตรา 11 วรรคสี่ ออกกฎกระทรวง เพื่อกำหนดให้ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนที่จัดตั้งขึ้นตาม กฎหมายไทยที่มีทุนเรียกชำระแล้วไม่เกิน 5 ล้านบาท และมีรายได้ไม่ เกิน 30 ล้านบาท และมีทรัพย์สินรวมไม่เกิน 30 ล้านบาท ไม่ต้องจัด ให้มีการตรวจสอบและแสดงความเห็นในงบการเงินที่ต้องยื่นต่อกรม พัฒนาธุรกิจการค้า ทั้งนี้ สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่สิ้นสุดในหรือ หลังวันที่ 31 ธันวาคม 2545 เป็นต้นไป รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์อาศัยอำนาจตามมาตรา 11 วรรคสี่ ออกกฎกระทรวง เพื่อกำหนดให้ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนที่จัดตั้งขึ้นตาม กฎหมายไทยที่มีทุนเรียกชำระแล้วไม่เกิน 5 ล้านบาท และมีรายได้ไม่ เกิน 30 ล้านบาท และมีทรัพย์สินรวมไม่เกิน 30 ล้านบาท ไม่ต้องจัด ให้มีการตรวจสอบและแสดงความเห็นในงบการเงินที่ต้องยื่นต่อกรม พัฒนาธุรกิจการค้า ทั้งนี้ สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่สิ้นสุดในหรือ หลังวันที่ 31 ธันวาคม 2545 เป็นต้นไป

การตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร พ.ศ พ.ศ อธิบดีกรมสรรพากร (นายศุภรัตน์ ควัฒน์กุล) โดยอนุมัติรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลังอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 3 สัตต แห่งประมวล รัษฎากร ออกประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับการตรวจสอบและ รับรองบัญชี เรื่อง กำหนดระเบียบเกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต ลงวันที่ 12 มีนาคม 2544 โดยให้ยกเลิกประกาศ อธิบดีกรมสรรพากรฯ ฉบับลงวันที่ 19 มิถุนายน 2523 อธิบดีกรมสรรพากร (นายศุภรัตน์ ควัฒน์กุล) โดยอนุมัติรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลังอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 3 สัตต แห่งประมวล รัษฎากร ออกประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับการตรวจสอบและ รับรองบัญชี เรื่อง กำหนดระเบียบเกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต ลงวันที่ 12 มีนาคม 2544 โดยให้ยกเลิกประกาศ อธิบดีกรมสรรพากรฯ ฉบับลงวันที่ 19 มิถุนายน 2523 พร้อมทั้งออกคำสั่งกรมสรรพากรเพื่อให้การปฏิบัติตามประกาศอธิบดี กรมสรรพากรดังกล่าวเป็นไปด้วยดี ประกอบด้วย พร้อมทั้งออกคำสั่งกรมสรรพากรเพื่อให้การปฏิบัติตามประกาศอธิบดี กรมสรรพากรดังกล่าวเป็นไปด้วยดี ประกอบด้วย คำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป. 98/2544 คำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป. 98/2544 คำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป. 122/2545 คำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป. 122/2545 คำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป. 123/2545 คำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป. 123/2545

การตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร พ.ศ (ต่อ) พ.ศ (ต่อ) ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรองบัญชี เรื่อง กำหนดระเบียบเกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรองบัญชีตามมาตรา 3 สัตต ลงวันที่ 12 มีนาคม 2544 กำหนดให้ ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรองบัญชี เรื่อง กำหนดระเบียบเกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรองบัญชีตามมาตรา 3 สัตต ลงวันที่ 12 มีนาคม 2544 กำหนดให้ “การตรวจสอบและรับรองบัญชี” หมายความว่า การตรวจสอบและ รับรองงบการเงินที่จัดทำขึ้นตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ “การตรวจสอบและรับรองบัญชี” หมายความว่า การตรวจสอบและ รับรองงบการเงินที่จัดทำขึ้นตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ “ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี” ได้แก่บุคคลดังต่อไปนี้ “ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี” ได้แก่บุคคลดังต่อไปนี้ “ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต” ตามกฎหมายเกี่ยวกับการสอบบัญชี ซึ่งตาม ประกาศนี้ให้ถือว่าเป็นผู้ได้รับอนุญาตจากอธิบดีให้เป็นผู้ตรวจสอบ และรับรองบัญชีสำหรับบริษัทและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล “ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต” ตามกฎหมายเกี่ยวกับการสอบบัญชี ซึ่งตาม ประกาศนี้ให้ถือว่าเป็นผู้ได้รับอนุญาตจากอธิบดีให้เป็นผู้ตรวจสอบ และรับรองบัญชีสำหรับบริษัทและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล “ผู้สอบบัญชีภาษีอากร” ที่ขอขึ้นทะเบียนและได้รับใบอนุญาตจาก อธิบดี ให้เป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีเฉพาะห้างหุ้นส่วนจด ทะเบียน ขนาดเล็ก “ผู้สอบบัญชีภาษีอากร” ที่ขอขึ้นทะเบียนและได้รับใบอนุญาตจาก อธิบดี ให้เป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีเฉพาะห้างหุ้นส่วนจด ทะเบียน ขนาดเล็ก

คำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป. 98/2544 เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ การทดสอบ การขอขึ้นทะเบียน การออก ใบอนุญาต การอบรม การต่ออายุ และการขอออก ใบแทน ใบอนุญาตเป็นผู้สอบบัญชีภาษีอากร ลงวันที่ 12 มีนาคม 2544 เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ การทดสอบ การขอขึ้นทะเบียน การออก ใบอนุญาต การอบรม การต่ออายุ และการขอออก ใบแทน ใบอนุญาตเป็นผู้สอบบัญชีภาษีอากร ลงวันที่ 12 มีนาคม 2544 ประกาศอธิบดีฯ ที่ออกตามความใน ท.ป. 98/2544 ประกาศอธิบดีฯ ที่ออกตามความใน ท.ป. 98/2544 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขการเป็นองค์กรวิชาชีพบัญชี หรือหน่วยงานที่อธิบดีให้ความ เห็นชอบในการจัดอบรมทางด้านกฎหมายภาษีอากรแก่ผู้สอบบัญชีภาษี อากร ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2546 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขการเป็นองค์กรวิชาชีพบัญชี หรือหน่วยงานที่อธิบดีให้ความ เห็นชอบในการจัดอบรมทางด้านกฎหมายภาษีอากรแก่ผู้สอบบัญชีภาษี อากร ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2546 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขเกี่ยวกับการทดสอบเป็นผู้สอบบัญชีภาษีอากร ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ 4 มีนาคม 2548 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขเกี่ยวกับการทดสอบเป็นผู้สอบบัญชีภาษีอากร ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ 4 มีนาคม 2548 ดูประกาศอธิบดีกรมสรรพากร การจัดอบรมทางด้านกฎหมายภาษี อากรแก่ผู้สอบบัญชี ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2546 ดูประกาศอธิบดีกรมสรรพากร การจัดอบรมทางด้านกฎหมายภาษี อากรแก่ผู้สอบบัญชี ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2546 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร องค์กรวิชาชีพบัญชีหรือหน่วยงานที่ อธิบดีให้ความเห็นชอบในการจัดอบรมทางด้านกฎหมายภาษีอากรแก่ ผู้สอบบัญชี ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2546) ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร องค์กรวิชาชีพบัญชีหรือหน่วยงานที่ อธิบดีให้ความเห็นชอบในการจัดอบรมทางด้านกฎหมายภาษีอากรแก่ ผู้สอบบัญชี ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2546)

คำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป. 98/2544 ประกาศอธิบดีฯ ที่ออกตามความใน ท.ป. 98/2544 (ต่อ) ประกาศอธิบดีฯ ที่ออกตามความใน ท.ป. 98/2544 (ต่อ) ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขเกี่ยวกับการอบรมของผู้สอบบัญชีภาษีอากร ลงวันที่ 4 มีนาคม 2548 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขเกี่ยวกับการอบรมของผู้สอบบัญชีภาษีอากร ลงวันที่ 4 มีนาคม 2548 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กำหนดแบบคำขอ/แบบแจ้งเกี่ยวกับ การตรวจสอบและรับรองบัญชี และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขใน การยื่นแบบคำขอ/แบบแจ้งเกี่ยวกับ การตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ 4 มีนาคม 2548 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กำหนดแบบคำขอ/แบบแจ้งเกี่ยวกับ การตรวจสอบและรับรองบัญชี และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขใน การยื่นแบบคำขอ/แบบแจ้งเกี่ยวกับ การตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ 4 มีนาคม 2548 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขเกี่ยวกับการขอขึ้นทะเบียน การออกใบอนุญาต การต่ออายุ ใบอนุญาต การขอออกใบแทนใบอนุญาต และการขอแก้ไขทะเบียน ของผู้สอบบัญชีภาษีอากร ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร ลง วันที่ 4 มีนาคม 2548 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขเกี่ยวกับการขอขึ้นทะเบียน การออกใบอนุญาต การต่ออายุ ใบอนุญาต การขอออกใบแทนใบอนุญาต และการขอแก้ไขทะเบียน ของผู้สอบบัญชีภาษีอากร ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร ลง วันที่ 4 มีนาคม 2548

คำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป. 122/2545 กำหนดหลักเกณฑ์การปฏิบัติงาน และการรายงานการตรวจสอบ และรับรองบัญชีของผู้สอบบัญชีภาษีอากรตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ 19 พฤศจิกายน 2545 กำหนดหลักเกณฑ์การปฏิบัติงาน และการรายงานการตรวจสอบ และรับรองบัญชีของผู้สอบบัญชีภาษีอากรตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ 19 พฤศจิกายน 2545 ประกาศอธิบดีฯ ที่ออกตามความใน ท.ป. 122/2545 ประกาศอธิบดีฯ ที่ออกตามความใน ท.ป. 122/2545 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กำหนดแบบคำขอ/แบบแจ้งเกี่ยวกับ การตรวจสอบและรับรองบัญชี และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขใน การยื่นแบบคำขอ/แบบแจ้งเกี่ยวกับ การตรวจสอบและรับรองบัญชี ตาม มาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ 4 มีนาคม 2548 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เรื่อง กำหนดแบบคำขอ/แบบแจ้งเกี่ยวกับ การตรวจสอบและรับรองบัญชี และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขใน การยื่นแบบคำขอ/แบบแจ้งเกี่ยวกับ การตรวจสอบและรับรองบัญชี ตาม มาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ 4 มีนาคม 2548 หนังสือตอบรับงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี หนังสือตอบรับงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี รายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี รายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี แบบแจ้งจำนวนและรายชื่อห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ผู้ตรวจสอบและ รับรองบัญชีจะลงลายมือชื่อรับรอง (แบบ บภ.07) แบบแจ้งจำนวนและรายชื่อห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ผู้ตรวจสอบและ รับรองบัญชีจะลงลายมือชื่อรับรอง (แบบ บภ.07) ใบต่อ บภ.07 ใบต่อ บภ.07 แบบแจ้งเปลี่ยนแปลงจำนวนและรายชื่อห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ผู้ ตรวจสอบและรับรองบัญชีจะลงลายมือชื่อรับรอง (แบบ บภ.08) แบบแจ้งเปลี่ยนแปลงจำนวนและรายชื่อห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ผู้ ตรวจสอบและรับรองบัญชีจะลงลายมือชื่อรับรอง (แบบ บภ.08) ใบต่อ บภ.08 ใบต่อ บภ.08

คำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป. 123/2545 เรื่อง กำหนดจรรยาบรรณของผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีตาม มาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ 19 พฤศจิกายน 2545 เรื่อง กำหนดจรรยาบรรณของผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีตาม มาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ 19 พฤศจิกายน 2545 กรมสรรพากรเปิดสอบ TA แล้วจำนวน 16 ครั้ง กรมสรรพากรเปิดสอบ TA แล้วจำนวน 16 ครั้ง ปัจจุบันมี TA ที่สอบผ่านครบทุกวิชา และขึ้นทะเบียนแล้วจำนวน 2,347 คน ปัจจุบันมี TA ที่สอบผ่านครบทุกวิชา และขึ้นทะเบียนแล้วจำนวน 2,347 คน

คำสั่งกรมสรรพากรที่ ท. 293/2550 วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวล รัษฎากร ให้ปฏิบัติงานเน้นการตรวจสอบและรับรองบัญชีทางด้านภาษี อากรตามประมวลรัษฎากร ในส่วนที่เป็นสาระสำคัญอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนาผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวล รัษฎากร ให้ปฏิบัติงานเน้นการตรวจสอบและรับรองบัญชีทางด้านภาษี อากรตามประมวลรัษฎากร ในส่วนที่เป็นสาระสำคัญอย่างมีประสิทธิภาพ หลักเกณฑ์ในการขอเข้ารับการอบรมและทดสอบ หลักเกณฑ์ในการขอเข้ารับการอบรมและทดสอบ ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีจะต้องยื่นแบบคำขอเข้ารับการคัดเลือกด้วย แบบคำขอทั่วไป (บภ.03) ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทางเว็บไซต์ กรมสรรพากร ( ภายในวันและเวลาที่อธิบดี กำหนด ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีจะต้องยื่นแบบคำขอเข้ารับการคัดเลือกด้วย แบบคำขอทั่วไป (บภ.03) ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทางเว็บไซต์ กรมสรรพากร ( ภายในวันและเวลาที่อธิบดี กำหนด เป็น TA หรือ CPA ที่ เป็น TA หรือ CPA ที่ ไม่ประพฤติฝ่าฝืนระเบียบที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด ไม่ประพฤติฝ่าฝืนระเบียบที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด อยู่ระหว่างการพิจารณาโทษหรือถูกลงโทษจากการสรรพากรหรือสภาวิชาชีพบัญชี อยู่ระหว่างการพิจารณาโทษหรือถูกลงโทษจากการสรรพากรหรือสภาวิชาชีพบัญชี ถูกถอดจากการเป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีที่ได้รับการคัดเลือกตามโครงการ พัฒนาผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร ถูกถอดจากการเป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีที่ได้รับการคัดเลือกตามโครงการ พัฒนาผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร

คำสั่งกรมสรรพากรที่ ท. 293/2550 วิชาที่อบรมและทดสอบ วิชาที่อบรมและทดสอบ สาระสำคัญทางด้านภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร สาระสำคัญทางด้านภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร ความแตกต่างของหลักเกณฑ์ทางบัญชีกับหลักเกณฑ์ทางภาษีอากร และ ความแตกต่างของหลักเกณฑ์ทางบัญชีกับหลักเกณฑ์ทางภาษีอากร และ Tax Mapping Tax Mapping การเป็นผู้ได้รับการคัดเลือก การเป็นผู้ได้รับการคัดเลือก ต้องเข้ารับการอบรมและผ่านการทดสอบตามที่อธิบดีกรมสรรพากร กำหนด ต้องเข้ารับการอบรมและผ่านการทดสอบตามที่อธิบดีกรมสรรพากร กำหนด ผู้ผ่านการคัดเลือกจะได้รับ “ใบประกาศการเป็นผู้ตรวจสอบและรับรอง บัญชีที่ได้รับการคัดเลือก” ผู้ผ่านการคัดเลือกจะได้รับ “ใบประกาศการเป็นผู้ตรวจสอบและรับรอง บัญชีที่ได้รับการคัดเลือก”

คำสั่งกรมสรรพากรที่ ท. 293/2550 ข้อกำหนดเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของผู้ได้รับการคัดเลือก ข้อกำหนดเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของผู้ได้รับการคัดเลือก ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีที่ได้รับการคัดเลือก ต้องปฏิบัติงาน ตรวจสอบและรับรองบัญชีโดยเน้นการทดสอบความถูกต้องในส่วนที่เป็น สาระสำคัญทางด้านภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร เฉพาะบริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคลที่ยินยอมให้ตรวจสอบดังต่อไปนี้ ตรวจสอบหน้าที่ความรับผิดชอบของนิติบุคคลตามที่ประมวลรัษฎากร กำหนด รวมถึง การตรวจสอบใบกำกับภาษีซื้อที่กิจการได้รับโดยวิธีการ ขอยืนยันการออกใบกำกับภาษี ตรวจสอบหน้าที่ความรับผิดชอบของนิติบุคคลตามที่ประมวลรัษฎากร กำหนด รวมถึง การตรวจสอบใบกำกับภาษีซื้อที่กิจการได้รับโดยวิธีการ ขอยืนยันการออกใบกำกับภาษี ตรวจสอบการปรับปรุงกำไรสุทธิ/ขาดทุนสุทธิทางบัญชี เป็นกำไรสุทธิ/ ขาดทุนสุทธิเพื่อเสียภาษีอากร ตรวจสอบการปรับปรุงกำไรสุทธิ/ขาดทุนสุทธิทางบัญชี เป็นกำไรสุทธิ/ ขาดทุนสุทธิเพื่อเสียภาษีอากร จัดทำรายงานการตรวจสอบภาษีอากรตามที่อธิบดีกำหนด และนำส่งต่อ อธิบดีกรมสรรพากรผ่านผู้อำนวยการสำนักมาตรฐานการสอบบัญชีภาษี อากร ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ตรวจสอบเสร็จ โดยยื่นรายงานดังกล่าว ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทางเว็บไซต์กรมสรรพากร ( จัดทำรายงานการตรวจสอบภาษีอากรตามที่อธิบดีกำหนด และนำส่งต่อ อธิบดีกรมสรรพากรผ่านผู้อำนวยการสำนักมาตรฐานการสอบบัญชีภาษี อากร ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ตรวจสอบเสร็จ โดยยื่นรายงานดังกล่าว ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทางเว็บไซต์กรมสรรพากร (

คำสั่งกรมสรรพากรที่ ท. 293/2550 สิทธิประโยชน์ 5 ปี สิทธิประโยชน์ 5 ปี ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีที่ได้รับการคัดเลือกและปฏิบัติตาม 5 จะ ได้รับสิทธิประโยชน์เป็นเวลา 5 ปี นับแต่วันที่ได้รับใบประกาศ ดังนี้ ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีที่ได้รับการคัดเลือกและปฏิบัติตาม 5 จะ ได้รับสิทธิประโยชน์เป็นเวลา 5 ปี นับแต่วันที่ได้รับใบประกาศ ดังนี้ กรณีที่ 1 ด้านนิติบุคคลที่ได้รับการตรวจสอบจากผู้ตรวจสอบและรับรอง บัญชีที่ได้รับการคัดเลือก จะได้รับความเชื่อมั่นจากกรมสรรพากรในด้าน การปฏิบัติงานตรวจสอบทางด้านภาษีอากร ดังนี้ กรณีที่ 1 ด้านนิติบุคคลที่ได้รับการตรวจสอบจากผู้ตรวจสอบและรับรอง บัญชีที่ได้รับการคัดเลือก จะได้รับความเชื่อมั่นจากกรมสรรพากรในด้าน การปฏิบัติงานตรวจสอบทางด้านภาษีอากร ดังนี้ (ก) ได้รับการเว้นตรวจสภาพกิจการจากกรมสรรพากรเป็น ระยะเวลาไม่เกิน 2 ปี (เว้นแต่กรณีที่มีหลักฐานหรือข้อมูลชัดแจ้งว่านิติ บุคคลนั้นเสียภาษีอากรไม่ถูกต้อง) (ก) ได้รับการเว้นตรวจสภาพกิจการจากกรมสรรพากรเป็น ระยะเวลาไม่เกิน 2 ปี (เว้นแต่กรณีที่มีหลักฐานหรือข้อมูลชัดแจ้งว่านิติ บุคคลนั้นเสียภาษีอากรไม่ถูกต้อง) (ข)ได้รับการพิจารณาและแจ้งผลการขอคืนเงินภาษีเงินได้นิติ บุคคล ภายใน 90 วันนับแต่วันที่เจ้าหน้าที่ได้รับข้อมูล (ข)ได้รับการพิจารณาและแจ้งผลการขอคืนเงินภาษีเงินได้นิติ บุคคล ภายใน 90 วันนับแต่วันที่เจ้าหน้าที่ได้รับข้อมูล

คำสั่งกรมสรรพากรที่ ท. 293/2550 สิทธิประโยชน์ 5 ปี (ต่อ) สิทธิประโยชน์ 5 ปี (ต่อ) กรณีที่ 2 ด้านผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีที่ได้รับการคัดเลือก จะได้รับ ข้อมูลเกี่ยวกับภาษีอากรและระเบียบกฎหมายอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อ วิชาชีพผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี เช่น สิทธิการรับพิจารณาเข้าอบรมที่ กรมสรรพากรจัดอบรมเป็นอับดับแรก การรับข่าวสารผ่าน e-Taxinfo การรับส่วนลดสมัครสมาชิกสรรพากรสาส์น การรับส่วนลดในการอบรม กับสรรพากรสาส์น เป็นต้น กรณีที่ 2 ด้านผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีที่ได้รับการคัดเลือก จะได้รับ ข้อมูลเกี่ยวกับภาษีอากรและระเบียบกฎหมายอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อ วิชาชีพผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี เช่น สิทธิการรับพิจารณาเข้าอบรมที่ กรมสรรพากรจัดอบรมเป็นอับดับแรก การรับข่าวสารผ่าน e-Taxinfo การรับส่วนลดสมัครสมาชิกสรรพากรสาส์น การรับส่วนลดในการอบรม กับสรรพากรสาส์น เป็นต้น หมายเหตุ: เมื่อได้รับสิทธิประโยชน์ครบ 5 ปี และประสงค์จะขอรับสิทธิ ประโยชน์ต่อไป จะต้องเข้ารับการอบรมและทดสอบตามที่อธิบดี กรมสรรพากรกำหนด หมายเหตุ: เมื่อได้รับสิทธิประโยชน์ครบ 5 ปี และประสงค์จะขอรับสิทธิ ประโยชน์ต่อไป จะต้องเข้ารับการอบรมและทดสอบตามที่อธิบดี กรมสรรพากรกำหนด

ข้อมูลเกี่ยวกับ CPTA Certified Public Tax Accountant จากการศึกษาดูงาน ณ ประเทศญี่ปุ่น

Certified Public Tax Accountant (CPTA) in Japan คือ ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษีอากร ที่ปฏิบัติงานบนพื้นฐานของ ความเป็นอิสระ ความถูกต้องและยุติธรรม สอดคล้องกับ หลักการของระบบภาษีแบบประเมินตนเองเพื่อทำให้ผู้เสีย ภาษีอากรเกิดความไว้วางใจและยินดีที่จะปฏิบัติตาม กฎหมายและคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับภาษีอากรที่เหมาะสม คือ ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษีอากร ที่ปฏิบัติงานบนพื้นฐานของ ความเป็นอิสระ ความถูกต้องและยุติธรรม สอดคล้องกับ หลักการของระบบภาษีแบบประเมินตนเองเพื่อทำให้ผู้เสีย ภาษีอากรเกิดความไว้วางใจและยินดีที่จะปฏิบัติตาม กฎหมายและคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับภาษีอากรที่เหมาะสม

ประเทศญี่ปุ่นกำหนดให้มี CPTA ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อให้มีผู้แนะนำให้ความรู้และเป็นที่ปรึกษาทางด้านภาษี ให้แก่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีอากรทั้งในส่วนของภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดา และภาษีเงินได้นิติบุคคล เพื่อให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษี อากรดังกล่าวสามารถเสียภาษีอากรได้อย่างถูกต้อง เป็นผลให้ รัฐสามารถจัดเก็บภาษีอากรได้อย่างเข้าเต็มเม็ดเต็มหน่วย ใน อันที่จะนำเงินภาษีอากรไปใช้ในการฟื้นฟูประเทศ ซึ่งได้รับ ผลกระทบจากภัยสงคราม ประเทศญี่ปุ่นกำหนดให้มี CPTA ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อให้มีผู้แนะนำให้ความรู้และเป็นที่ปรึกษาทางด้านภาษี ให้แก่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีอากรทั้งในส่วนของภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดา และภาษีเงินได้นิติบุคคล เพื่อให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษี อากรดังกล่าวสามารถเสียภาษีอากรได้อย่างถูกต้อง เป็นผลให้ รัฐสามารถจัดเก็บภาษีอากรได้อย่างเข้าเต็มเม็ดเต็มหน่วย ใน อันที่จะนำเงินภาษีอากรไปใช้ในการฟื้นฟูประเทศ ซึ่งได้รับ ผลกระทบจากภัยสงคราม Certified Public Tax Accountant (CPTA) in Japan

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ CPTA ในประเทศญี่ปุ่น Ministry of Finance National Tax Agency Certified Public Tax Accountants’ Associations Japan Federation of Certified Public Tax Accountants’ Associations

คุณสมบัติผู้ขอขึ้นทะเบียนเป็น CPTA ในประเทศญี่ปุ่น ผู้สำเร็จปริญญาตรีทุกสาขาและสอบผ่าน 5 วิชา ดังนี้ ผู้สำเร็จปริญญาตรีทุกสาขาและสอบผ่าน 5 วิชา ดังนี้ วิชาบัญชี 2 วิชา วิชาบัญชี 2 วิชา วิชาการบันทึกบัญชี วิชาการบันทึกบัญชี วิชาการจัดทำงบการเงิน วิชาการจัดทำงบการเงิน วิชากฎหมายภาษี เลือก 3 วิชา จาก 7 วิชา ดังนี้ วิชากฎหมายภาษี เลือก 3 วิชา จาก 7 วิชา ดังนี้ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีสุรา ภาษีสุรา ภาษีมรดก ภาษีมรดก ภาษีโรงเรือนและภาษีท้องถิ่น ภาษีโรงเรือนและภาษีท้องถิ่น การจัดเก็บภาษี การจัดเก็บภาษี

คุณสมบัติผู้ขอขึ้นทะเบียนเป็น CPTA ในประเทศญี่ปุ่น ผู้ที่ได้รับการยกเว้นการสอบ ผู้ที่ได้รับการยกเว้นการสอบ เจ้าหน้าที่ของ NTA ที่มีอายุงานไม่น้อยกว่า 23 ปี เจ้าหน้าที่ของ NTA ที่มีอายุงานไม่น้อยกว่า 23 ปี CPA CPA ทนายความ ทนายความ ผู้ที่ได้รับการยกเว้นการสอบบางวิชา เช่น ผู้ที่ได้รับการยกเว้นการสอบบางวิชา เช่น เป็นผู้ที่มีคุณสมบัติ หรือประสบการณ์เฉพาะด้านตามหลักเกณฑ์ที่ กฎหมายกำหนด เช่น เจ้าหน้าที่ของ NTA (ที่มีอายุงานไม่ถึง 23 ปี แต่ ไม่น้อยกว่า 10 ปี) ผู้จบการศึกษาระดับปริญญาโท เป็นผู้ที่มีคุณสมบัติ หรือประสบการณ์เฉพาะด้านตามหลักเกณฑ์ที่ กฎหมายกำหนด เช่น เจ้าหน้าที่ของ NTA (ที่มีอายุงานไม่ถึง 23 ปี แต่ ไม่น้อยกว่า 10 ปี) ผู้จบการศึกษาระดับปริญญาโท

CPTA in Japan การเปิดกว้างให้กับผู้ที่จบปริญญาตรีทุกสาขาวิชาทำให้เกิด ปัญหาหรือไม่ การเปิดกว้างให้กับผู้ที่จบปริญญาตรีทุกสาขาวิชาทำให้เกิด ปัญหาหรือไม่ จากข้อมูลที่ผ่านมาไม่เคยประสบปัญหาจากการปฏิบัติงานของ CPTA ที่ไม่ใช่นักบัญชี (ผู้ที่ไม่ได้จบปริญญาตรีสาขาบัญชี) เนื่องจากข้อสอบ ค่อนข้างยากผู้ที่ผ่านการทดสอบต้องเป็นผู้ที่มีพื้นฐานทางด้านบัญชีดี พอควร จากข้อมูลที่ผ่านมาไม่เคยประสบปัญหาจากการปฏิบัติงานของ CPTA ที่ไม่ใช่นักบัญชี (ผู้ที่ไม่ได้จบปริญญาตรีสาขาบัญชี) เนื่องจากข้อสอบ ค่อนข้างยากผู้ที่ผ่านการทดสอบต้องเป็นผู้ที่มีพื้นฐานทางด้านบัญชีดี พอควร การกำหนดเปิดกว้างดังกล่าว นอกจากจะไม่ทำให้เกิดปัญหาแล้ว ยังมี ผลทำให้ได้ CPTA นำความรู้ที่หลากหลายนอกเหนือจากบัญชี สามารถนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี การกำหนดเปิดกว้างดังกล่าว นอกจากจะไม่ทำให้เกิดปัญหาแล้ว ยังมี ผลทำให้ได้ CPTA นำความรู้ที่หลากหลายนอกเหนือจากบัญชี สามารถนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี

การขึ้นทะเบียน CPTA ในประเทศญี่ปุ่น ผู้ผ่านการทดสอบ ผู้ที่ได้รับ ยกเว้น การสอบ ยื่นขอขึ้น ทะเบียน สมาคม CPTA สัมภาษณ์โดย คณะกรรมการของ สมาคม ตรวจสอบ คุณสมบัติ สมาพันธ์ CPTA NTA คณะกรรมการ พิจารณา ต้องแนบหนังสือ รับรองการสอบผ่าน จาก NTA และเอกสาร อื่นที่เกี่ยวข้อง ต้องแนบเอกสารที่ แสดงถึงคุณสมบัติที่ ได้รับการยกเว้น และ เอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง ผู้ผ่านการดสอบ ประมาณ 10%

Different roles between CPA and CPTA in Japan Listed Companies Large companies SMEs Non Listed Sole proprietors CPA (Mand atory) CPTA (Volun tory) Appending Doc. Audit Report ปัจจุบันมี ผู้ใช้บริการ นิติบุคคล 85% บุคคลธรรมดา 40%

CPA CPTA ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการ ตรวจสอบบัญชีและงบ การเงินของกิจการ เพื่อ รับรองความถูกต้อง ข้อแตกต่างระหว่าง CPA และ CPTA ในประเทศญี่ปุ่น ปฏิบัติงานทางด้านภาษี อากร เช่น ให้คำแนะนำ เกี่ยวกับภาษีอากร จัดทำ เอกสารต่าง ๆ เกี่ยวกับ ภาษีอากร ข้อห้ามของการปฏิบัติงาน 1. ห้ามบุคคลคนเดียวปฏิบัติงานในฐานะ CPA และ CPTA ให้กับกิจการ เดียวกัน 2. ห้าม CPA และ CPTA ที่ปฏิบัติงานให้กับกิจการเดียวกันอยู่สำนักงาน เดียวกัน

การปฏิบัติงานของ CPTA ในประเทศญี่ปุ่น ด้านภาษีอากร ด้านบัญชี ด้านสาธารณประโยชน์ เช่น จัดทำเอกสารทางด้านภาษีอากร ให้คำปรึกษา เป็นตัวแทนลูกค้า กรณีมีการฟ้องร้องหรือต้องติดต่อกับสรรพากร (เป็นคนกลางระหว่างผู้ เสียภาษีกับสรรพากร) จัดทำบัญชี งบการเงิน ช่วยเหลือเกี่ยวกับคดีฟ้องร้อง และเป็นตัวแทนในชั้นศาลให้กับผู้พิการ และบุคคลล้มละลาย

การอบรมพัฒนา CPTA ในประเทศญี่ปุ่น กฎหมายไม่ได้กำหนดให้ CPTA ต้องเข้ารับการอบรม แต่ NTA ได้ออกข้อเสนอแนะให้สมาคม CPTA อบรมพัฒนา CPTA ที่ เป็นสมาชิกไม่น้อยกว่าปีละ 36 ชั่วโมง ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้ ดังต่อไปนี้ กฎหมายไม่ได้กำหนดให้ CPTA ต้องเข้ารับการอบรม แต่ NTA ได้ออกข้อเสนอแนะให้สมาคม CPTA อบรมพัฒนา CPTA ที่ เป็นสมาชิกไม่น้อยกว่าปีละ 36 ชั่วโมง ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้ ดังต่อไปนี้ ความรู้ทางด้านภาษีอากร บัญชี กฎหมาย เศรษฐกิจ และการบริหาร ความรู้ทางด้านภาษีอากร บัญชี กฎหมาย เศรษฐกิจ และการบริหาร ความรู้ด้าน IT ความรู้ด้าน IT ความรู้เพื่อประโยชน์ต่อสาธารณชน ความรู้เพื่อประโยชน์ต่อสาธารณชน

การลงโทษ CPTA ในประเทศญี่ปุ่น หน่วยงานที่ พิจารณาลงโทษ ความผิดระดับโทษ NTA (National Tax Agent) NTA (National Tax Agent) กระทำผิด กฎหมาย CPTA - เตือน - พักใบอนุญาต 1 ปี - เพิกถอนใบอนุญาต - จำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 2 ล้านเยน (กรณีความผิดจาก การให้คำปรึกษาเพื่อหลีกเลี่ยง ภาษี) สมาคม CPTA (Certified Public Tax Accountants’ Associations) สมาคม CPTA (Certified Public Tax Accountants’ Associations) กระทำผิด ข้อบังคับของ สมาคม CPTA - เตือน - พักใบอนุญาต 1 ปี

การปฏิบัติงานตรวจสอบและรับรองบัญชี ปฏิบัติงานตรวจสอบและแสดงความเห็นว่างบการเงิน เป็นไปตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป (GAAP) หรือตามมาตรฐานการบัญชีโดย CPA การตรวจสอบและรับรองบัญชี ตรวจสอบและแสดงความเห็นในงบการเงิน ตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ ให้กับบริษัทและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลขนาดใหญ่บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลต่างประเทศ และกิจการร่วมค้า ตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร

การปฏิบัติงานตรวจสอบและรับรองภาษีอากร ปฏิบัติงานตรวจสอบและรับรองภาษีอากรตาม หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ อธิบดีกรมสรรพากรกำหนดตามมาตรา 3 สัตต ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากร ตามประมวล รัษฎากรให้กับบริษัทและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตาม มาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ แห่งการจัดเก็บภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร การตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากร

ประเภทกฎหมายเกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรอง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พรบ. วิชาชีพบัญชี พ.ศ มาตรา 38 พรบ. การบัญชี พ.ศ มาตรา 11 กฎหมายทั่วไป กฎหมายพิเศษ มาตรา 3 สัตต เอกสารหลักฐานและการปฏิบัติหน้าที่อื่น ประมวลรัษฎากร กฎหมายเกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรองบัญชี ตรวจสอบและรับรอง บัญชีภาษีอากร ตรวจสอบและแสดงความเห็นเกี่ยวกับ บัญชีการเงิน และ

ประเภทกฎหมาย มาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ มาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ เป็นกฎหมายทั่วไป (General Law) บัญญัติขึ้นเพื่อประโยชน์ สาธารณชนในส่วนที่เกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ เป็นกฎหมายทั่วไป (General Law) บัญญัติขึ้นเพื่อประโยชน์ สาธารณชนในส่วนที่เกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ มาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร มาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร เป็นกฎหมายพิเศษ (Special Law) กำหนดขึ้นเพื่อประโยชน์ ในการบริหารการจัดเก็บภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร โดยเฉพาะเพื่อการจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคล โดยการยื่น แบบแสดงรายการประเมินตนเอง เป็นกฎหมายพิเศษ (Special Law) กำหนดขึ้นเพื่อประโยชน์ ในการบริหารการจัดเก็บภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร โดยเฉพาะเพื่อการจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคล โดยการยื่น แบบแสดงรายการประเมินตนเอง

ประเภทกฎหมาย Jus Generale (กฎหมายทั่วไป) Jus Generale (กฎหมายทั่วไป) ใช้บังคับเป็นการทั่วไป ไม่จำกัดบุคคล เวลา สถานที่หรือ เหตุการณ์ ใช้บังคับเป็นการทั่วไป ไม่จำกัดบุคคล เวลา สถานที่หรือ เหตุการณ์ Jus Speciale (กฎหมายพิเศษ) Jus Speciale (กฎหมายพิเศษ) ใช้บังคับเฉพาะบุคคล เวลา สถานที่หรือเหตุการณ์ ใช้บังคับเฉพาะบุคคล เวลา สถานที่หรือเหตุการณ์ ในกรณีที่กฎหมายพิเศษและกฎหมายทั่วไปบัญญัติในเรื่อง เดียวกัน ให้ใช้บังคับตามกฎหมายพิเศษก่อน หรือกฎหมาย พิเศษย่อมใช้บังคับก่อนหรือยกเว้นกฎหมายทั่วไป (ศาสตราจารย์ ดร. หยุด แสงอุทัย) ในกรณีที่กฎหมายพิเศษและกฎหมายทั่วไปบัญญัติในเรื่อง เดียวกัน ให้ใช้บังคับตามกฎหมายพิเศษก่อน หรือกฎหมาย พิเศษย่อมใช้บังคับก่อนหรือยกเว้นกฎหมายทั่วไป (ศาสตราจารย์ ดร. หยุด แสงอุทัย)

พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ มาตรา 38 ผู้ใดจะเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาตต้องได้รับ ใบอนุญาตจากสภาวิชาชีพบัญชี มาตรา 38 ผู้ใดจะเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาตต้องได้รับ ใบอนุญาตจากสภาวิชาชีพบัญชี การขอรับใบอนุญาต การอนุญาต และการออกใบอนุญาต เป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาตให้เป็นไปตามแบบและหลักเกณฑ์ที่ กำหนดในข้อบังคับสภาวิชาชีพบัญชี เมื่อได้รับใบอนุญาตแล้ว และใบอนุญาตนั้นมิได้ถูกพักใช้ หรือ ถูกเพิกถอนให้ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตได้รับยกเว้นไม่ต้องขอ อนุญาตต่ออธิบดีกรมสรรพากรในการตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามประมวลรัษฎากร

มาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร มาตรา 3 สัตต เพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บภาษีอากรตาม ประมวลรัษฎากร การตรวจสอบและรับรองบัญชีจะกระทำได้ก็แต่โดย บุคคลที่ได้รับใบอนุญาตจากอธิบดี มาตรา 3 สัตต เพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บภาษีอากรตาม ประมวลรัษฎากร การตรวจสอบและรับรองบัญชีจะกระทำได้ก็แต่โดย บุคคลที่ได้รับใบอนุญาตจากอธิบดี บุคคลที่จะขอใบอนุญาตจากอธิบดีตามความในวรรคก่อน ต้อง เป็นผู้ที่มีคุณสมบัติและปฏิบัติตามระเบียบที่อธิบดีกำหนดโดยอนุมัติ รัฐมนตรี บุคคลที่จะขอใบอนุญาตจากอธิบดีตามความในวรรคก่อน ต้อง เป็นผู้ที่มีคุณสมบัติและปฏิบัติตามระเบียบที่อธิบดีกำหนดโดยอนุมัติ รัฐมนตรี บุคคลใดได้รับใบอนุญาตดังกล่าวแล้ว ถ้าฝ่าฝืนระเบียบที่อธิบดี กำหนด อธิบดีอาจพิจารณาสั่งถอนใบอนุญาตเสียก็ได้ บทบัญญัติแห่งมาตรานี้ จะใช้บังคับในเขตจังหวัดใด ให้อธิบดี ประกาศโดยอนุมัติรัฐมนตรี บทบัญญัติแห่งมาตรานี้ จะใช้บังคับในเขตจังหวัดใด ให้อธิบดี ประกาศโดยอนุมัติรัฐมนตรี การประกาศให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา การประกาศให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา (แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 10) พ.ศ ใช้บังคับ 10 กุมภาพันธ์ 2496 เป็นต้นไป)

CPA กับ CPTA รายการ มาตรา 38 แห่ง พระราชบัญญัติ วิชาชีพบัญชี พ.ศ วิชาชีพบัญชี พ.ศ มาตรา 3 สัตต มาตรา 3 สัตตแห่งประมวลรัษฎากร ประเภท กฎหมาย ประเภท กฎหมาย กฎหมายทั่วไป ใช้บังคับเป็น การทั่วไป เพื่อประโยชน์ สาธารณชนตามพระราช บัญญัติการบัญชี พ.ศ กฎหมายพิเศษ เป็นไปเพื่อ ประโยชน์ในการบริหารการ จัดเก็บภาษีอากร โดยเฉพาะ ภาษีเงินได้นิติบุคคล กำกับดูแล กำกับดูแล สภาวิชาชีพบัญชี (องค์กร อิสระ) กรมสรรพากร ผู้ตรวจสอบและ รับรอง ผู้ตรวจสอบและ รับรอง CPA (ผู้สอบบัญชีรับ อนุญาต) CPTA (ผู้ตรวจสอบและ รับรองบัญชีภาษีอากร) ผู้ประกอบการที่ เกี่ยวข้อง ผู้ประกอบการที่ เกี่ยวข้อง บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติ บุคคลไทยที่ไม่ใช่ SMEs บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติ บุคคลต่างประเทศ และ กิจการร่วมค้า ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติ บุคคลจากฐานกำไรสุทธิทุก ราย

การยื่นรายการประเมินตนเองตามประมวลรัษฎากร มาตรา 17 การยื่นรายการ ให้ยื่นภายในเวลาที่กำหนดไว้ในหมวดว่าด้วย ภาษีอากรต่าง ๆ และตามแบบแสดงรายการที่อธิบดีกำหนด มาตรา 17 การยื่นรายการ ให้ยื่นภายในเวลาที่กำหนดไว้ในหมวดว่าด้วย ภาษีอากรต่าง ๆ และตามแบบแสดงรายการที่อธิบดีกำหนด ถ้าอธิบดีต้องการรายงานประจำปี หรือบัญชีงบดุลหรือบัญชีอื่น ๆ ประกอบแบบแสดงรายการใดก็ให้สั่งเรียกได้กับให้อธิบดีมีอำนาจสั่งผู้ต้องเสีย ภาษีอากรให้มีสมุดบัญชีพิเศษ และให้กรอกข้อความที่ต้องการลงในสมุดบัญชี นั้นได้ เพื่อสะดวกแก่การคำนวณเงินภาษีอากรที่ต้องเสียตามลักษณะนี้ เมื่อ อธิบดีมีคำสั่งตามที่ว่ามานี้ ผู้ยื่นรายการหรือผู้ต้องเสียภาษีอากรต้องปฏิบัติตาม “เพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บภาษีอากร (1) ให้อธิบดีโดยอนุมัติรัฐมนตรีมีอำนาจสั่งบุคคลเป็นการทั่วไปให้มี บัญชีพิเศษ และให้กรอกข้อความที่ต้องการลงในบัญชีนั้น คำสั่งเช่นว่านี้ให้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา (2) ให้อธิบดีมีอำนาจกำหนดให้ผู้ยื่นรายการหรือผู้ต้องเสียภาษีอากร จัดทำบัญชีงบดุลหรือบัญชีอื่น ๆ แสดงรายการหรือแจ้งข้อความใด ๆ และยื่นต่อ เจ้าพนักงานประเมิน พร้อมกับการยื่นรายการตามแบบแสดงรายการที่อธิบดี กำหนด”

การยื่นรายการประเมินตนเองตามประมวลรัษฎากร มาตรา 68 ภายในหนึ่งร้อยห้าสิบวันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี ให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนบุคคลยื่นรายการ ซึ่งจำเป็นต้องใช้ในการคำนวณภาษี ในรอบระยะเวลาบัญชีตามแบบที่อธิบดีกำหนด พร้อมกับชำระภาษีต่ออำเภอ มาตรา 68 ภายในหนึ่งร้อยห้าสิบวันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี ให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนบุคคลยื่นรายการ ซึ่งจำเป็นต้องใช้ในการคำนวณภาษี ในรอบระยะเวลาบัญชีตามแบบที่อธิบดีกำหนด พร้อมกับชำระภาษีต่ออำเภอ มาตรา 68 ทวิ เพื่อประโยชน์ในการคำนวณภาษี ให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วน นิติบุคคลจัดทำบัญชีงบดุล บัญชีทำการ และบัญชีกำไรขาดทุนในรอบระยะเวลา บัญชีตามมาตรา 65 มาตรา 68 ทวิ เพื่อประโยชน์ในการคำนวณภาษี ให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วน นิติบุคคลจัดทำบัญชีงบดุล บัญชีทำการ และบัญชีกำไรขาดทุนในรอบระยะเวลา บัญชีตามมาตรา 65 บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามมาตรา 66 วรรคสอง ซึ่งกระทำ กิจการขนส่งผ่านประเทศต่าง ๆ ให้ทำบัญชีรายรับก่อนหักรายจ่ายเกี่ยวกับค่า โดยสาร ค่าระวาง ค่าธรรมเนียม และประโยชน์อื่นใดอันต้องเสียภาษี แทนบัญชี งบดุล บัญชีทำการ และบัญชีกำไรขาดทุนในรอบระยะเวลาบัญชีเฉพาะกิจการ ขนส่งดังกล่าวแล้ว

การยื่นรายการประเมินตนเองตามประมวลรัษฎากร มาตรา 69 ภายในหนึ่งร้อยห้าสิบวันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลา บัญชี ให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนบุคคลยื่นรายการซึ่งจำเป็นต้องใช้ในการ คำนวณภาษีตามมาตรา 65 มาตรา 65 ทวิ มาตรา 66 และมาตรา 67 เกี่ยวกับ รายรับ รายจ่าย กำไรสุทธิและรายการอื่น ๆ ต่อเจ้าพนักงานประเมินตามแบบที่ อธิบดีกำหนด พร้อมด้วยบัญชีงบดุล บัญชีทำการ และบัญชีกำไรขาดทุน บัญชี รายรับรายจ่าย หรือบัญชีรายรับก่อนหักรายจ่ายที่มีบุคคลตามมาตรา 3 สัตต ตรวจสอบและรับรองในรอบระยะเวลาบัญชีดังกล่าว แล้วแต่กรณี มาตรา 69 ภายในหนึ่งร้อยห้าสิบวันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลา บัญชี ให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนบุคคลยื่นรายการซึ่งจำเป็นต้องใช้ในการ คำนวณภาษีตามมาตรา 65 มาตรา 65 ทวิ มาตรา 66 และมาตรา 67 เกี่ยวกับ รายรับ รายจ่าย กำไรสุทธิและรายการอื่น ๆ ต่อเจ้าพนักงานประเมินตามแบบที่ อธิบดีกำหนด พร้อมด้วยบัญชีงบดุล บัญชีทำการ และบัญชีกำไรขาดทุน บัญชี รายรับรายจ่าย หรือบัญชีรายรับก่อนหักรายจ่ายที่มีบุคคลตามมาตรา 3 สัตต ตรวจสอบและรับรองในรอบระยะเวลาบัญชีดังกล่าว แล้วแต่กรณี

เหตุผลและความจำเป็นในการมี CPTA Paradigm Shift Paradigm Shift เกิดแนวคิดใหม่ในการตรวจสอบและรับรองบัญชีเพื่อประโยชน์แห่ง การเสียภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรที่มิได้จำกัดวงแคบเพียงการ ตรวจสอบและรับรองงบการเงินที่จัดทำตามกฎหมายว่าด้วยการบัญชี หากแต่ เป็นการตรวจสอบและรับรองความถูกต้องของการจัดทำบัญชี เพื่อการเสียภาษีอากรทุกชนิดทุกประเภทตามประมวลรัษฎากร และ การปฏิบัติหน้าที่ทั้งหลายทั้งปวงของผู้มีหน้าที่เสียภาษีอากรตามที่ บัญญัติไว้ในประมวลรัษฎากร เกิดแนวคิดใหม่ในการตรวจสอบและรับรองบัญชีเพื่อประโยชน์แห่ง การเสียภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรที่มิได้จำกัดวงแคบเพียงการ ตรวจสอบและรับรองงบการเงินที่จัดทำตามกฎหมายว่าด้วยการบัญชี หากแต่ เป็นการตรวจสอบและรับรองความถูกต้องของการจัดทำบัญชี เพื่อการเสียภาษีอากรทุกชนิดทุกประเภทตามประมวลรัษฎากร และ การปฏิบัติหน้าที่ทั้งหลายทั้งปวงของผู้มีหน้าที่เสียภาษีอากรตามที่ บัญญัติไว้ในประมวลรัษฎากร ภารกิจในการจัดเก็บภาษีอากรของกรมสรรพากร ภารกิจในการจัดเก็บภาษีอากรของกรมสรรพากร เพื่อการพัฒนาประเทศ นับวันรัฐบาลมีแต่จะเพิ่มจำนวนเม็ดเงินภาษีที่ กรมสรรพากรต้องจัดเก็บเป็นลำดับ ประกอบกับในอีกไม่ช้าไม่นาน กรมศุลกากรต้องยุติบทบาทการจัดเก็บภาษีศุลกากร ตามข้อผูกพันที่ ประเทศไทยมีต่อ WTO และแน่นอนภาระนั้นต้องตกเป็นของ กรมสรรพากร เพื่อการพัฒนาประเทศ นับวันรัฐบาลมีแต่จะเพิ่มจำนวนเม็ดเงินภาษีที่ กรมสรรพากรต้องจัดเก็บเป็นลำดับ ประกอบกับในอีกไม่ช้าไม่นาน กรมศุลกากรต้องยุติบทบาทการจัดเก็บภาษีศุลกากร ตามข้อผูกพันที่ ประเทศไทยมีต่อ WTO และแน่นอนภาระนั้นต้องตกเป็นของ กรมสรรพากร

เหตุผลและความจำเป็นในการมี CPTA ภาษีอากรที่กรมสรรพากรจัดเก็บเกือบทั้งหมดเป็นภาษีอากร ประเมิน (Assessment Tax) ภาษีอากรที่กรมสรรพากรจัดเก็บเกือบทั้งหมดเป็นภาษีอากร ประเมิน (Assessment Tax) กว่า 95% ของผลการจัดภาษีสรรพากรเกิดจากการยื่นรายการประเมิน ตนเอง (Self – assessment) ของผู้ต้องเสียภาษีอากร กว่า 95% ของผลการจัดภาษีสรรพากรเกิดจากการยื่นรายการประเมิน ตนเอง (Self – assessment) ของผู้ต้องเสียภาษีอากร ภาษีอากรประเมิน หมายถึง ภาษีอากรประเภทที่กำหนดให้ผู้ต้องเสีย หรือผู้ต้องนำส่งภาษีอากรมีหน้าที่ต้องยื่นแบบแสดงรายการ เพื่อ ประเมินตนเองว่า มีรายได้หรือรายได้จากการประกอบกิจการใด เป็น จำนวนเท่าใดในแต่ละรอบระยะเวลาในการจัดเก็บภาษีอากรประเภท นั้นๆ เมื่อคำนวณจำนวนภาษีอากรตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ที่กฎหมายกำหนดแล้ว มีภาระภาษีที่ต้องเสียหรือนำส่งเป็นจำนวน เท่าใด และให้เจ้าพนักงานประเมินเป็นผู้ประเมินความถูกต้องของการ เสียภาษีอากร ภาษีอากรประเมิน หมายถึง ภาษีอากรประเภทที่กำหนดให้ผู้ต้องเสีย หรือผู้ต้องนำส่งภาษีอากรมีหน้าที่ต้องยื่นแบบแสดงรายการ เพื่อ ประเมินตนเองว่า มีรายได้หรือรายได้จากการประกอบกิจการใด เป็น จำนวนเท่าใดในแต่ละรอบระยะเวลาในการจัดเก็บภาษีอากรประเภท นั้นๆ เมื่อคำนวณจำนวนภาษีอากรตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ที่กฎหมายกำหนดแล้ว มีภาระภาษีที่ต้องเสียหรือนำส่งเป็นจำนวน เท่าใด และให้เจ้าพนักงานประเมินเป็นผู้ประเมินความถูกต้องของการ เสียภาษีอากร ดังนั้น หากการยื่นแบบแสดงรายการประเมินตนเองของผู้ต้องเสียภาษี รายสำคัญ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล เป็นไปโดย ถูกต้อง ก็ย่อมชี้ให้เห็นถึงสัมฤทธิผลของการจัดเก็บภาษีอากรประเมิน ของรัฐ ดังนั้น หากการยื่นแบบแสดงรายการประเมินตนเองของผู้ต้องเสียภาษี รายสำคัญ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล เป็นไปโดย ถูกต้อง ก็ย่อมชี้ให้เห็นถึงสัมฤทธิผลของการจัดเก็บภาษีอากรประเมิน ของรัฐ

เหตุผลและความจำเป็นในการมี CPTA ภาษีอากรที่กรมสรรพากรจัดเก็บเกือบทั้งหมดเป็นภาษีอากร ประเมิน (Assessment Tax) - ต่อ ภาษีอากรที่กรมสรรพากรจัดเก็บเกือบทั้งหมดเป็นภาษีอากร ประเมิน (Assessment Tax) - ต่อ ในขณะที่จำนวนเจ้าพนักงานประเมินที่ทำหน้าที่กำกับดูแลการเสียภาษี อากรมีประมาณเพียง 6,000 คนทั่วประเทศ และไม่มีโอกาสที่จะเพิ่ม จำนวนข้าราชการด้วยข้อจำกัดหลายๆ ประการ แต่จำนวนผู้เสียภาษี อากรและผู้ประกอบการกลับเพิ่มจำนวนขึ้นทุกปี ในขณะที่จำนวนเจ้าพนักงานประเมินที่ทำหน้าที่กำกับดูแลการเสียภาษี อากรมีประมาณเพียง 6,000 คนทั่วประเทศ และไม่มีโอกาสที่จะเพิ่ม จำนวนข้าราชการด้วยข้อจำกัดหลายๆ ประการ แต่จำนวนผู้เสียภาษี อากรและผู้ประกอบการกลับเพิ่มจำนวนขึ้นทุกปี การอำนวยให้เกิดความเป็นธรรมในการบริหารการจัดเก็บภาษีอากร ตามประมวลรัษฎากร และการให้บริการที่ดีอันเป็นหัวใจสำคัญของการ บริหารงานของกรมสรรพากร จึงเป็นเรื่องราวที่ยากขึ้นเป็นลำดับ การอำนวยให้เกิดความเป็นธรรมในการบริหารการจัดเก็บภาษีอากร ตามประมวลรัษฎากร และการให้บริการที่ดีอันเป็นหัวใจสำคัญของการ บริหารงานของกรมสรรพากร จึงเป็นเรื่องราวที่ยากขึ้นเป็นลำดับ ดังนั้น หากมี CPTA เป็นผู้ทำการตรวจสอบทางภาษีอากรของผู้ต้อง เสียภาษีอากร โดยเฉพาะบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามมาตรา 39 ก่อนที่จะได้มีการยื่นรายการและชำระหรือนำส่ง รวมทั้งการขอคืน ย่อมช่วยบรรเทาภาระงานล้นคนได้เป็นอย่างดี ดังนั้น หากมี CPTA เป็นผู้ทำการตรวจสอบทางภาษีอากรของผู้ต้อง เสียภาษีอากร โดยเฉพาะบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามมาตรา 39 ก่อนที่จะได้มีการยื่นรายการและชำระหรือนำส่ง รวมทั้งการขอคืน ย่อมช่วยบรรเทาภาระงานล้นคนได้เป็นอย่างดี

เหตุผลและความจำเป็นในการมี CPTA การกำหนดให้มี CPTA เป็นไปเพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บ ภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร การกำหนดให้มี CPTA เป็นไปเพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บ ภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร เป็นการกำหนดผู้ประกอบวิชาชีพหนึ่งที่จะทำหน้าที่ตรวจสอบและ รับรองบัญชีภาษีอากรให้แก่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีอากรตามประมวล รัษฎากร เป็นการกำหนดผู้ประกอบวิชาชีพหนึ่งที่จะทำหน้าที่ตรวจสอบและ รับรองบัญชีภาษีอากรให้แก่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีอากรตามประมวล รัษฎากร CPTA เป็นเสมือนตัวแทนของกรมสรรพากร ในการให้คำแนะนำ และ ความรู้ทางด้านภาษีอากรแก่กิจการ CPTA เป็นเสมือนตัวแทนของกรมสรรพากร ในการให้คำแนะนำ และ ความรู้ทางด้านภาษีอากรแก่กิจการ กิจการจะได้รับทราบเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรใหม่ ๆ ได้ อย่างรวดเร็ว และนำมาใช้ได้อย่างถูกต้อง เพราะมี CPTA เป็นที่ ปรึกษา กิจการจะได้รับทราบเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรใหม่ ๆ ได้ อย่างรวดเร็ว และนำมาใช้ได้อย่างถูกต้อง เพราะมี CPTA เป็นที่ ปรึกษา เป็นการสร้างความสมัครใจในการเสียภาษีอากรของผู้ประกอบการ โดย การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการตามประมวลรัษฎากรที่ไม่ต้องรอให้เจ้า พนักงานสรรพากรเข้าทำการตรวจสอบดังเช่นในอดีต เป็นการสร้างความสมัครใจในการเสียภาษีอากรของผู้ประกอบการ โดย การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการตามประมวลรัษฎากรที่ไม่ต้องรอให้เจ้า พนักงานสรรพากรเข้าทำการตรวจสอบดังเช่นในอดีต

เหตุผลและความจำเป็นในการมี CPTA การที่ CPTA ทำหน้าที่ตรวจสอบและรับรองความถูกต้องในการ จัดทำบัญชีภาษีอากรเพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บภาษีอากร ตามประมวลรัษฎากรของกิจการทุกประเภทภาษี ตั้งแต่ภาษีเงิน ได้หัก ณ ที่จ่าย ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจ เฉพาะ และอากรแสตมป์ รวมถึงการตรวจสอบการจัดทำ รายงาน การจัดทำบัญชีพิเศษ การจัดทำใบกำกับภาษี และการ ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามประมวลรัษฎากร การที่ CPTA ทำหน้าที่ตรวจสอบและรับรองความถูกต้องในการ จัดทำบัญชีภาษีอากรเพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บภาษีอากร ตามประมวลรัษฎากรของกิจการทุกประเภทภาษี ตั้งแต่ภาษีเงิน ได้หัก ณ ที่จ่าย ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจ เฉพาะ และอากรแสตมป์ รวมถึงการตรวจสอบการจัดทำ รายงาน การจัดทำบัญชีพิเศษ การจัดทำใบกำกับภาษี และการ ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามประมวลรัษฎากร เป็นการสร้างความสมัครใจในการเสียภาษีอากรของผู้ประกอบการ โดยการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการตามประมวลรัษฎากรที่ไม่ต้องรอ ให้เจ้าพนักงานสรรพากรเข้าทำการตรวจสอบดังเช่นในอดีต เป็นการสร้างความสมัครใจในการเสียภาษีอากรของผู้ประกอบการ โดยการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการตามประมวลรัษฎากรที่ไม่ต้องรอ ให้เจ้าพนักงานสรรพากรเข้าทำการตรวจสอบดังเช่นในอดีต ก่อให้เกิดฐานภาษีที่ยั่งยืน และทำให้ภาระและปริมาณงานของเจ้าหน้าที่ ตรวจสอบลดลง ก่อให้เกิดฐานภาษีที่ยั่งยืน และทำให้ภาระและปริมาณงานของเจ้าหน้าที่ ตรวจสอบลดลง

เหตุผลและความจำเป็นในการมี CPTA CPTA ที่ดี ซึ่งมีแผนและแนวทางการตรวจสอบและรับรองบัญชี ภาษีอากรที่มีมาตรฐาน CPTA ที่ดี ซึ่งมีแผนและแนวทางการตรวจสอบและรับรองบัญชี ภาษีอากรที่มีมาตรฐาน จะช่วยทำให้การปฏิบัติงานการตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากรมี ประสิทธิภาพ ซึ่งจะยังผลให้การเสียภาษีอากรของผู้ประกอบการเป็นไป โดยถูกต้องและเป็นธรรมตามเจตนารมณ์แห่งประมวลรัษฎากร จะช่วยทำให้การปฏิบัติงานการตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากรมี ประสิทธิภาพ ซึ่งจะยังผลให้การเสียภาษีอากรของผู้ประกอบการเป็นไป โดยถูกต้องและเป็นธรรมตามเจตนารมณ์แห่งประมวลรัษฎากร ช่วยยกระดับมาตรฐานการจัดเก็บภาษีสรรพากรสู่ความเป็น มาตรฐานสากล ช่วยยกระดับมาตรฐานการจัดเก็บภาษีสรรพากรสู่ความเป็น มาตรฐานสากล

ผลกระทบของ CPTA ต่อกรมสรรพากร ข้อดีข้อจำกัด เพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บภาษี อากรแห่งประมวลรัษฎากร ให้เกิด ความเป็นธรรม และยั่งยืน เพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บภาษี อากรแห่งประมวลรัษฎากร ให้เกิด ความเป็นธรรม และยั่งยืน CPTA ต้องเป็นบุคคลที่มีความรู้ จริง และมีจรรยาบรรณในการ ปฏิบัติงานที่ดี มิฉะนั้นจะทำให้เกิด ความเสียหายทั้งต่อกรมสรรพากร และนิติบุคคล CPTA ต้องเป็นบุคคลที่มีความรู้ จริง และมีจรรยาบรรณในการ ปฏิบัติงานที่ดี มิฉะนั้นจะทำให้เกิด ความเสียหายทั้งต่อกรมสรรพากร และนิติบุคคล เสมือนมีตัวแทนของกรมสรรพากร ในการประชาสัมพันธ์ เสมือนมีตัวแทนของกรมสรรพากร ในการประชาสัมพันธ์ อาจทำให้เกิดกระแสการต่อต้าน จากนิติบุคคลเพราะเป็นการเพิ่ม ภาระค่าใช้จ่าย อาจทำให้เกิดกระแสการต่อต้าน จากนิติบุคคลเพราะเป็นการเพิ่ม ภาระค่าใช้จ่าย ทำให้เกิดความเชื่อมั่นว่าการเสียภาษี ของกิจการที่ได้รับการตรวจสอบจาก CPTA ถูกต้อง ซึ่งจะเป็นการลด ภาระและปริมาณงานของเจ้าหน้าที่ ตรวจสอบ ทำให้เกิดความเชื่อมั่นว่าการเสียภาษี ของกิจการที่ได้รับการตรวจสอบจาก CPTA ถูกต้อง ซึ่งจะเป็นการลด ภาระและปริมาณงานของเจ้าหน้าที่ ตรวจสอบ

ผลกระทบของ CPTA ต่อผู้เสียภาษีอากร ข้อดีข้อจำกัด ทำให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบมีเวลาที่จะ ปฏิบัติงานอื่น ๆ ต่อไป ทำให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบมีเวลาที่จะ ปฏิบัติงานอื่น ๆ ต่อไป สร้างฐานภาษีอากรที่ยั่งยืน ทำให้ จัดเก็บภาษีอากรได้อย่างเต็มเม็ดเต็ม หน่วย สร้างฐานภาษีอากรที่ยั่งยืน ทำให้ จัดเก็บภาษีอากรได้อย่างเต็มเม็ดเต็ม หน่วย ยกระดับมาตรฐานการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่สรรพากร ยกระดับมาตรฐานการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่สรรพากร ก่อให้เกิดกระแสการศึกษาภาษีอากร ตามประมวลรัษฎากรอย่างกว้างขวาง และอย่างลึกซึ้ง อันเป็นการยกระดับ มาตรฐานของประเทศไทย ก่อให้เกิดกระแสการศึกษาภาษีอากร ตามประมวลรัษฎากรอย่างกว้างขวาง และอย่างลึกซึ้ง อันเป็นการยกระดับ มาตรฐานของประเทศไทย

ผลกระทบของ CPTA ต่อผู้เสียภาษีอากร ข้อดีข้อจำกัด มีที่ปรึกษาทางด้านภาษีอากร ทำให้ไม่ กังวลกับการเสียภาษีของกิจการว่าจะ เกิดการผิดพลาด มีที่ปรึกษาทางด้านภาษีอากร ทำให้ไม่ กังวลกับการเสียภาษีของกิจการว่าจะ เกิดการผิดพลาด อาจทำให้เกิดกระแสการต่อต้าน เนื่องจากเป็นการเพิ่มภาระ ค่าใช้จ่ายแก่กิจการ อาจทำให้เกิดกระแสการต่อต้าน เนื่องจากเป็นการเพิ่มภาระ ค่าใช้จ่ายแก่กิจการ รับทราบเกี่ยวสิทธิประโยชน์ทางภาษี อากรที่รัฐบาลกำหนดได้อย่างรวดเร็ว และนำไปใช้ได้อย่างถูกต้อง รับทราบเกี่ยวสิทธิประโยชน์ทางภาษี อากรที่รัฐบาลกำหนดได้อย่างรวดเร็ว และนำไปใช้ได้อย่างถูกต้อง หากกิจการได้ CPTA ที่ไม่มี จรรยาบรรณ ก็จะทำให้เกิด ความเสียหายแก่กิจการ หากกิจการได้ CPTA ที่ไม่มี จรรยาบรรณ ก็จะทำให้เกิด ความเสียหายแก่กิจการ ได้รับความไว้วางใจจากกรมสรรพากร เกี่ยวการเสียภาษีของกิจการ ส่งผลให้ ได้รับการยกเว้นการตรวจสภาพ กิจการจากเจ้าหน้าที่กรมสรรพากร ได้รับความไว้วางใจจากกรมสรรพากร เกี่ยวการเสียภาษีของกิจการ ส่งผลให้ ได้รับการยกเว้นการตรวจสภาพ กิจการจากเจ้าหน้าที่กรมสรรพากร เป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายในส่วนของ เงินเพิ่ม เบี้ยปรับ และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ จากการเสียภาษีไม่ถูกต้องครบถ้วน เป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายในส่วนของ เงินเพิ่ม เบี้ยปรับ และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ จากการเสียภาษีไม่ถูกต้องครบถ้วน

แนวทางการแก้ไขปัญหาข้อจำกัด 1. กรมสรรพากรจะต้องกำหนดระเบียบการปฏิบัติงานรวมถึง จรรยาบรรณของ CPTA ให้ชัดเจนและรัดกุม รวมถึงการ ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด ซึ่งจะต้องเพิ่มปริมาณ บุคลากรที่ทำหน้าที่ควบคุมดูแลให้เพียงพอ 2. กรมสรรพากรจะต้องทำการประชาสัมพันธ์ให้เข้าถึงหลักการ และเหตุผลที่แท้จริง โดยเน้นถึงผลดีที่นิติบุคคลจะได้รับจาก การกำหนดให้มี CPTA เมื่อเทียบกับค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น

การดำเนินการเกี่ยวกับ CPTA มบ. ได้ดำเนินการเกี่ยวกับการกำหนดให้มีผู้ตรวจสอบและ รับรองภาษีอากรตามได้กำหนดไว้ตามแผนการปฏิบัติงานของ มบ. ดังนี้ 1.ได้จัดตั้งคณะทำงานของสำนักมาตรฐานการสอบบัญชีภาษี อากร เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของกฎหมายในการ กำหนดให้มีผู้ตรวจสอบและรับรองภาษีอากร ตามคำสั่ง สำนักมาตรฐานการสอบบัญชีภาษีอากรที่ มบ. 9/2550 ลง วันที่ 20 กันยายน คณะทำงานของสำนักฯ ได้ดำเนินการศึกษากฎหมายและ หลักเกณฑ์ของประเทศต่างๆ แล้ว ทำการสรุปผลการ ดำเนินการนำเสนอคณะผู้บริหารภายในกรมสรรพากร (ค.บ.น.)

การดำเนินการเกี่ยวกับ CPTA 3.ที่ประชุมคณะผู้บริหารภายในกรมสรรพากร (ค.บ.น.) มีมติ ให้ มบ. ดำเนินการจัดตั้งคณะทำงาน เพื่อศึกษาและกำหนด หลักเกณฑ์ต่าง ๆ เกี่ยวกับการกำหนดให้มีผู้ตรวจสอบและ รับรองภาษีอากร โดยมีท่านสาธิต รังคสิริ รองอธิบดีกรม สรรพากร (ในขณะนั้น) เป็นประธานคณะทำงาน 4.มบ. ได้จัดทำคำสั่งให้ท่านอธิบดีแต่งตั้งคณะทำงานกำหนด หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการเป็นผู้ตรวจสอบและรับรอง ภาษีอากร ตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท. 4/2551 ลงวันที่ 7 มกราคม 2551 ซึ่งมีท่านสาธิต รังคสิริ รองอธิบดี (ในขณะ นั้น) เป็นประธาน และมีคณะทำงานประกอบด้วย ผอ.กม. ผอ. มก. ผอ.มจ. ผอ.ทท. ผอ.ผษ. ผอ.ภญ. ผอ.ตส. ผอ.อธ. ผอ. บอ. ผอ.ฝอ. ผอ.จท. หัวหน้า สค. ลข. และ ผอ.มบ.

มบ. ได้ดำเนินการกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับผู้ตรวจสอบและ รับรองภาษีอากร ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ มบ. ได้ดำเนินการกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับผู้ตรวจสอบและ รับรองภาษีอากร ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ เพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร กำหนดให้มีการตรวจสอบและรับรองบัญชีเพื่อประโยชน์แห่ง การจัดเก็บภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร เพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร กำหนดให้มีการตรวจสอบและรับรองบัญชีเพื่อประโยชน์แห่ง การจัดเก็บภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร การตรวจสอบและรับรองบัญชีเพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บ ภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร หมายความว่า การตรวจสอบ ความถูกต้องในส่วนที่เป็นสาระสำคัญทางด้านการบัญชีเพื่อ ประโยชน์แห่งการจัดเก็บภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร ซึ่ง ต่อไปนี้จะเรียกว่า “การตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากร” การตรวจสอบและรับรองบัญชีเพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บ ภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร หมายความว่า การตรวจสอบ ความถูกต้องในส่วนที่เป็นสาระสำคัญทางด้านการบัญชีเพื่อ ประโยชน์แห่งการจัดเก็บภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร ซึ่ง ต่อไปนี้จะเรียกว่า “การตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากร” การตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากร

Certified Public Tax Accountant (CPTA) ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากรต้อง ขอขึ้นทะเบียนต่ออธิบดีกรมสรรพากร เพื่อประโยชน์แห่ง การจัดเก็บตามประมวลรัษฎากร (มาตรา 3 สัตต) การตรวจสอบและรับรองบัญชีเพื่อประโยชน์แห่ง การจัดเก็บภาษีอากร ตามประมวลรัษฎากร (มาตรา 3 สัตต) การตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากร

เพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บ ตามประมวลรัษฎากร การบัญชีเพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บภาษี อากรตามประมวลรัษฎากร ซึ่งต่อไปนี้จะเรียกว่า “การบัญชีภาษีอากร” ซึ่งต่อไปนี้จะเรียกว่า “การบัญชีภาษีอากร” มีความหมายเป็น 2 นัยดังนี้ มีความหมายเป็น 2 นัยดังนี้ จัดทำเพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บภาษีอากรตาม ประมวลรัษฎากร อันได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงิน ได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ การจัดทำบัญชีเพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บภาษีอากรตาม ประมวลรัษฎากร อันได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงิน ได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ การปฏิบัติหน้าที่ทางภาษีอากรทั้งปวงตามที่กำหนดไว้ใน ประมวลรัษฎากร การปฏิบัติหน้าที่ทางภาษีอากรทั้งปวงตามที่กำหนดไว้ใน ประมวลรัษฎากร

การบัญชีเพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บภาษี อากรตามประมวลรัษฎากร “การบัญชีภาษีอากร” (ตามประมวลรัษฎากร) “การบัญชีภาษีอากร” (ตามประมวลรัษฎากร) การจัดทำบัญชีเพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ ได้แก่ การจัดทำบัญชีเพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ ได้แก่ บัญชีงบดุล บัญชีทำการ บัญชีกำไรขาดทุน บัญชีงบดุล บัญชีทำการ บัญชีกำไรขาดทุน การจัดทำบัญชีกำไรขาดทุน หมายความรวมถึง การปรับปรุงกำไรและ ขาดทุนสุทธิทางบัญชีเป็นกำไรและขาดทุนสุทธิทางภาษีอากร การจัดทำบัญชีกำไรขาดทุน หมายความรวมถึง การปรับปรุงกำไรและ ขาดทุนสุทธิทางบัญชีเป็นกำไรและขาดทุนสุทธิทางภาษีอากร บัญชีรายรับรายจ่าย บัญชีรายรับก่อนหักรายจ่าย บัญชีรายรับรายจ่าย บัญชีรายรับก่อนหักรายจ่าย รายงานที่ต้องจัดทำในระบบภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีธุรกิจเฉพาะ รายงานที่ต้องจัดทำในระบบภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีธุรกิจเฉพาะ การจัดทำใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ การจัดทำใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ ใบรับ ใบส่งของ ใบรับ ใบส่งของ บัญชีพิเศษตามมาตรา 17 แห่งประมวลรัษฎากร บัญชีพิเศษตามมาตรา 17 แห่งประมวลรัษฎากร

การบัญชีเพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บภาษี อากรตามประมวลรัษฎากร (ต่อ) ให้หมายความรวมถึง ให้หมายความรวมถึง การแสดงรายการหรือแจ้งข้อความใดๆ การแสดงรายการหรือแจ้งข้อความใดๆ การคำนวณภาษีอากร การคำนวณภาษีอากร การคำนวณและหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย การคำนวณและหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย การคำนวณและหักภาษีเงินได้นิติบุคคล (ตามมาตรา 70) การคำนวณและหักภาษีเงินได้นิติบุคคล (ตามมาตรา 70) การยื่นรายการ การยื่นรายการ การชำระและการนำส่งภาษีอากร การชำระและการนำส่งภาษีอากร การปิดแสตมป์บริบูรณ์ การปิดแสตมป์บริบูรณ์ การขอคืนภาษีอากร การขอคืนภาษีอากร การเก็บรักษาเอกสารและหลักฐาน การเก็บรักษาเอกสารและหลักฐาน การจดทะเบียน รวมทั้งการปฏิบัติหน้าที่อื่นตามประมวลรัษฎากร การจดทะเบียน รวมทั้งการปฏิบัติหน้าที่อื่นตามประมวลรัษฎากร

ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากร “ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีเพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บภาษี อากรตามประมวลรัษฎากร” หมายความว่า บุคคลที่มีคุณสมบัติ และได้รับใบอนุญาตจากอธิบดี รวมทั้งผู้สอบบัญชีรับอนุญาตที่ ได้รับยกเว้นไม่ต้องขออนุญาตต่ออธิบดีในการตรวจสอบและ รับรองบัญชีตามประมวลรัษฎากร ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพ บัญชี พ.ศ ซึ่งต่อไปจะเรียกว่า “ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีเพื่อประโยชน์แห่งการจัดเก็บภาษี อากรตามประมวลรัษฎากร” หมายความว่า บุคคลที่มีคุณสมบัติ และได้รับใบอนุญาตจากอธิบดี รวมทั้งผู้สอบบัญชีรับอนุญาตที่ ได้รับยกเว้นไม่ต้องขออนุญาตต่ออธิบดีในการตรวจสอบและ รับรองบัญชีตามประมวลรัษฎากร ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพ บัญชี พ.ศ ซึ่งต่อไปจะเรียกว่า “ผู้ตรวจสอบและรับรอง บัญชีภาษีอากร” ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากรต้องได้รับการขึ้นทะเบียน จากอธิบดีกรมสรรพากร ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากรต้องได้รับการขึ้นทะเบียน จากอธิบดีกรมสรรพากร

“ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากร” ต้องมีคุณสมบัติ และ ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากร กำหนดในเรื่องดังต่อไปนี้ “ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากร” ต้องมีคุณสมบัติ และ ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากร กำหนดในเรื่องดังต่อไปนี้ คุณสมบัติ คุณสมบัติ การทดสอบ การอบรมและทดสอบ การขอขึ้นทะเบียน การออก ใบอนุญาต การขอออกใบแทนใบอนุญาต การขอแก้ไขทะเบียน การ อบรม การพ้นสภาพ การกลับคืนสภาพ และการชำระค่าธรรมเนียม การทดสอบ การอบรมและทดสอบ การขอขึ้นทะเบียน การออก ใบอนุญาต การขอออกใบแทนใบอนุญาต การขอแก้ไขทะเบียน การ อบรม การพ้นสภาพ การกลับคืนสภาพ และการชำระค่าธรรมเนียม การปฏิบัติงาน และการรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษี อากร การปฏิบัติงาน และการรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษี อากร ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากร

ผู้มีคุณสมบัติเป็น CPTA ผู้ที่ผ่านการอบรมและทดสอบเพื่อพัฒนาความรู้ทางการ ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากร ดังนี้ ผู้ที่ผ่านการอบรมและทดสอบเพื่อพัฒนาความรู้ทางการ ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากร ดังนี้ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องขออนุญาตต่ออธิบดีในการ ตรวจสอบและรับรองบัญชีตามประมวลรัษฎากร ตามพระราชบัญญัติ วิชาชีพบัญชี พ.ศ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องขออนุญาตต่ออธิบดีในการ ตรวจสอบและรับรองบัญชีตามประมวลรัษฎากร ตามพระราชบัญญัติ วิชาชีพบัญชี พ.ศ ผู้สอบบัญชีภาษีอากรตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับการ ตรวจสอบและรับรองบัญชี เรื่อง กำหนดระเบียบเกี่ยวกับการตรวจสอบ และรับรองบัญชีตามมาตรา 3 สัตต ลงวันที่ 12 มีนาคม 2544 ผู้สอบบัญชีภาษีอากรตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับการ ตรวจสอบและรับรองบัญชี เรื่อง กำหนดระเบียบเกี่ยวกับการตรวจสอบ และรับรองบัญชีตามมาตรา 3 สัตต ลงวันที่ 12 มีนาคม 2544 ผู้เคยเป็นเจ้าพนักงานประเมินตามประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วย การแต่งตั้งเจ้าพนักงาน (ฉบับที่ 39) ที่ไม่มีประวัติเสื่อมเสียในการ ปฏิบัติงานและมีระยะเวลาในการปฏิบัติงานเป็นเจ้าพนักงานประเมินที่ มีวุฒิการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทุกสาขาวิชา ไม่น้อยกว่า 25 ปี ผู้เคยเป็นเจ้าพนักงานประเมินตามประกาศกระทรวงการคลัง ว่าด้วย การแต่งตั้งเจ้าพนักงาน (ฉบับที่ 39) ที่ไม่มีประวัติเสื่อมเสียในการ ปฏิบัติงานและมีระยะเวลาในการปฏิบัติงานเป็นเจ้าพนักงานประเมินที่ มีวุฒิการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทุกสาขาวิชา ไม่น้อยกว่า 25 ปี ผู้ที่สอบผ่านการทดสอบเป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษี อากร ผู้ที่สอบผ่านการทดสอบเป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษี อากร ผู้ที่มีคุณสมบัติอื่นตามที่อธิบดีกำหนด ผู้ที่มีคุณสมบัติอื่นตามที่อธิบดีกำหนด

ผู้ขอขึ้นทะเบียนเป็น CPTA ผู้ขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษี อากร ต้องเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ ผู้ขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษี อากร ต้องเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ ลำดับคุณสมบัติผู้มีคุณสมบัติ 1. ผู้ผ่านการทดสอบเป็นผู้ตรวจสอบ และรับรองบัญชีภาษีอากร ป. ตรี ทุกสาขา ป. ตรี ทุกสาขา สอบผ่าน 5 วิชา (≥ 60 คะแนน) สอบผ่าน 5 วิชา (≥ 60 คะแนน) 2. ผู้ผ่านการอบรมและทดสอบ ตามที่อธิบดีกรมสรรพากร กำหนด TA TA CPA CPA อดีตเจ้าพนักงานประเมินที่มีจบ ป. ตรี และอายุงาน ≥ 25 ปี อดีตเจ้าพนักงานประเมินที่มีจบ ป. ตรี และอายุงาน ≥ 25 ปี 3. ผู้มีคุณสมบัติอื่นตามที่อธิบดี กรมสรรพากรกำหนด CPTA กิตติมศักดิ์ CPTA กิตติมศักดิ์

ผู้ประสงค์ขอเข้ารับการทดสอบเป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี ภาษีอากรต้องเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ ผู้ประสงค์ขอเข้ารับการทดสอบเป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี ภาษีอากรต้องเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทุกสาขาวิชา จากสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้การรับทราบหลักสูตร สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทุกสาขาวิชา จากสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาให้การรับทราบหลักสูตร มีสัญชาติไทย หรือมีสัญชาติของประเทศซึ่งยินยอมให้ผู้มีสัญชาติไทย ประกอบวิชาชีพผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากรในประเทศนั้น และมีภูมิลำเนาในไทย มีสัญชาติไทย หรือมีสัญชาติของประเทศซึ่งยินยอมให้ผู้มีสัญชาติไทย ประกอบวิชาชีพผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากรในประเทศนั้น และมีภูมิลำเนาในไทย มีความรู้ภาษาไทยเพียงพอที่จะทำหน้าที่เป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี ภาษีอากรได้ มีความรู้ภาษาไทยเพียงพอที่จะทำหน้าที่เป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี ภาษีอากรได้ ไม่เป็นผู้ไร้ความสามารถ หรือเสมือนไร้ความสามารถ ไม่เป็นผู้ไร้ความสามารถ หรือเสมือนไร้ความสามารถ ไม่เป็นบุคคลล้มละลายที่ยังไม่กลับสู่สถานะเดิม ไม่เป็นบุคคลล้มละลายที่ยังไม่กลับสู่สถานะเดิม ไม่เป็นผู้ที่เคยต้องโทษจำคุกในคดีเกี่ยวกับภาษีอากร หรือคดีอื่นที่อธิบดี กรมสรรพากรเห็นว่าอาจนำมาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ ไม่เป็นผู้ที่เคยต้องโทษจำคุกในคดีเกี่ยวกับภาษีอากร หรือคดีอื่นที่อธิบดี กรมสรรพากรเห็นว่าอาจนำมาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ ไม่เป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากร หรือผู้สอบบัญชีภาษีอากร หรือผู้สอบบัญชีรับอนุญาตที่อยู่ระหว่างถูกสั่งพักหรือถูกเพิกถอน ใบอนุญาต ไม่เป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากร หรือผู้สอบบัญชีภาษีอากร หรือผู้สอบบัญชีรับอนุญาตที่อยู่ระหว่างถูกสั่งพักหรือถูกเพิกถอน ใบอนุญาต ผู้รับการทดสอบเป็น CPTA

การทดสอบ CPTA ผู้ขอเข้ารับการทดสอบเป็นผู้ตรวจสอบและรับรองภาษีอากร ต้องยื่นคำขอเข้ารับการทดสอบตามแบบที่อธิบดีกรมสรรพากร กำหนดเพื่อเข้ารับการทดสอบวิชาดังต่อไปนี้ ผู้ขอเข้ารับการทดสอบเป็นผู้ตรวจสอบและรับรองภาษีอากร ต้องยื่นคำขอเข้ารับการทดสอบตามแบบที่อธิบดีกรมสรรพากร กำหนดเพื่อเข้ารับการทดสอบวิชาดังต่อไปนี้ วิชาที่ทดสอบเนื้อหาวิชา 1. วิชาการบัญชีสำหรับวิชาชีพ CPTA ความรู้ทางบัญชีเบื้องต้นเพื่อประโยชน์ แห่งการจัดเก็บภาษีอากร ความรู้ทางบัญชีเบื้องต้นเพื่อประโยชน์ แห่งการจัดเก็บภาษีอากร 2. วิชากฎหมายภาษีอากร 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากร ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากร ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประมวลรัษฎากร ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประมวลรัษฎากร ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวิชาชีพ CPTA ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวิชาชีพ CPTA 3. วิชากฎหมายภาษีอากร 2 ความรู้เกี่ยวกับภาษีเงินได้นิติบุคคล ความรู้เกี่ยวกับภาษีเงินได้นิติบุคคล 4. วิชากฎหมายภาษีอากร 3 ความรู้เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม ความรู้เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม 5. วิชากฎหมายภาษีอากร 4 ความรู้เกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะ อากร แสตมป์ และภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ความรู้เกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะ อากร แสตมป์ และภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

การอบรมและทดสอบ ผู้ที่มีคุณสมบัติที่สามารถเข้ารับการอบรมและทดสอบต้องยื่นคำ ขอเข้ารับการอบรมและทดสอบตามแบบที่อธิบดีกรมสรรพากร กำหนด เพื่อเข้ารับการอบรมและทดสอบ ดังต่อไปนี้ ผู้ที่มีคุณสมบัติที่สามารถเข้ารับการอบรมและทดสอบต้องยื่นคำ ขอเข้ารับการอบรมและทดสอบตามแบบที่อธิบดีกรมสรรพากร กำหนด เพื่อเข้ารับการอบรมและทดสอบ ดังต่อไปนี้ 1. เข้ารับการอบรมเกี่ยวกับกฎหมายภาษีอากร เป็นเวลา 30 ชั่วโมง ดังนี้ 1. เข้ารับการอบรมเกี่ยวกับกฎหมายภาษีอากร เป็นเวลา 30 ชั่วโมง ดังนี้ วิชาภาษีเงินได้นิติบุคคล วิชาภาษีเงินได้นิติบุคคล วิชาภาษีมูลค่าเพิ่ม วิชาภาษีมูลค่าเพิ่ม วิชาภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีเงินได้หัก ณ ที่ จ่าย และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง วิชาภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีเงินได้หัก ณ ที่ จ่าย และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง วิชาหน้าที่ความรับผิดชอบของกิจการตามประมวลรัษฎากร และข้อ แตกต่างระหว่างหลักเกณฑ์ทางบัญชีและภาษีอากร วิชาหน้าที่ความรับผิดชอบของกิจการตามประมวลรัษฎากร และข้อ แตกต่างระหว่างหลักเกณฑ์ทางบัญชีและภาษีอากร วิชาเทคนิคการตรวจสอบภาษีอากร วิชาเทคนิคการตรวจสอบภาษีอากร 2. เข้ารับการทดสอบความรู้ตามที่ได้รับการอบรมตาม 1 2. เข้ารับการทดสอบความรู้ตามที่ได้รับการอบรมตาม 1

CPTA ต้องสอดส่องใช้ความรู้ ความสามารถ และความ ระมัดระวังในการตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากรเยี่ยงผู้ ประกอบวิชาชีพโดยทั่วไปต้องปฏิบัติ CPTA ต้องสอดส่องใช้ความรู้ ความสามารถ และความ ระมัดระวังในการตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากรเยี่ยงผู้ ประกอบวิชาชีพโดยทั่วไปต้องปฏิบัติ ในกรณีที่พบว่า ผู้ต้องเสียภาษี ได้มีการกระทำหรืองดเว้นการ กระทำอันอาจเป็นเหตุให้มิต้องเสียภาษีอากรตามประมวล รัษฎากร หรือเสียภาษีอากรน้อยกว่าที่ควรเสียอันเป็น สาระสำคัญ จะต้องเปิดเผยข้อเท็จจริงต่ออธิบดีกรมสรรพากร ในกรณีที่พบว่า ผู้ต้องเสียภาษี ได้มีการกระทำหรืองดเว้นการ กระทำอันอาจเป็นเหตุให้มิต้องเสียภาษีอากรตามประมวล รัษฎากร หรือเสียภาษีอากรน้อยกว่าที่ควรเสียอันเป็น สาระสำคัญ จะต้องเปิดเผยข้อเท็จจริงต่ออธิบดีกรมสรรพากร การปฏิบัติงานของ CPTA

ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากร ตรวจสอบความถูกต้องในส่วนที่เป็นสาระสำคัญ ทางด้านภาษีอากรในบัญชีภาษีอากรที่ต้องจัดทำ และปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากร

ต้องปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับการบัญชีภาษีอากร ต้องปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับการบัญชีภาษีอากร โดยเฉพาะการเสียภาษีอากรของตนเองให้ถูกต้องครบถ้วน กรณีผู้ ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากรจงใจหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยง การเสียภาษีอากร ให้ถือว่าปฏิบัติฝ่าฝืนระเบียบที่อธิบดีกำหนด โดยเฉพาะการเสียภาษีอากรของตนเองให้ถูกต้องครบถ้วน กรณีผู้ ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากรจงใจหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยง การเสียภาษีอากร ให้ถือว่าปฏิบัติฝ่าฝืนระเบียบที่อธิบดีกำหนด อนึ่ง กรณีผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากร อนึ่ง กรณีผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากร โดยรู้อยู่แล้วหรือโดยจงใจแจ้งข้อความเท็จ หรือให้ถ้อยคำเท็จ หรือตอบ คำถามด้วยถ้อยคำอันเป็นเท็จ หรือนำพยานหลักฐานเท็จไปแสดง หรือ โดยความเท็จ โดยฉ้อโกงหรืออุบาย หรือโดยวิธีการอื่นใดทำนองเดียวกัน โดยรู้อยู่แล้วหรือโดยจงใจแจ้งข้อความเท็จ หรือให้ถ้อยคำเท็จ หรือตอบ คำถามด้วยถ้อยคำอันเป็นเท็จ หรือนำพยานหลักฐานเท็จไปแสดง หรือ โดยความเท็จ โดยฉ้อโกงหรืออุบาย หรือโดยวิธีการอื่นใดทำนองเดียวกัน หลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร ทั้งของตนเองและผู้ต้องเสียภาษีที่ตนเองตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษี อากร หลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร ทั้งของตนเองและผู้ต้องเสียภาษีที่ตนเองตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษี อากร ย่อมต้องได้รับโทษทั้งทางแพ่งและหรืออาญาตามประมวลรัษฎากร ย่อมต้องได้รับโทษทั้งทางแพ่งและหรืออาญาตามประมวลรัษฎากร CPTA กับการเสียภาษีอากร

การอบรมในที่นี้ หมายความว่า การอบรมในที่นี้ หมายความว่า การพัฒนาความรู้ทางการตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากรอย่าง ต่อเนื่อง และเข้ารับการอบรมความรู้ทางวิชาชีพจากองค์กรวิชาชีพหรือ หน่วยงานที่อธิบดีให้ความเห็นชอบ การพัฒนาความรู้ทางการตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากรอย่าง ต่อเนื่อง และเข้ารับการอบรมความรู้ทางวิชาชีพจากองค์กรวิชาชีพหรือ หน่วยงานที่อธิบดีให้ความเห็นชอบ เมื่อได้รับการขึ้นทะเบียนและได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ตรวจสอบ และรับรองบัญชีภาษีอากรแล้ว เมื่อได้รับการขึ้นทะเบียนและได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ตรวจสอบ และรับรองบัญชีภาษีอากรแล้ว ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากรต้องอบรมความรู้ทางวิชาชีพเป็น รายปีประดิทิน ปีละไม่น้อยกว่าสิบสองชั่วโมง ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากรต้องอบรมความรู้ทางวิชาชีพเป็น รายปีประดิทิน ปีละไม่น้อยกว่าสิบสองชั่วโมง ความรู้ทางวิชาชีพ ได้แก่ ความรู้ทางวิชาชีพ ได้แก่ ความรู้ทางภาษีอากร จำนวนไม่น้อยกว่า 9 ชั่วโมงต่อปี ความรู้ทางภาษีอากร จำนวนไม่น้อยกว่า 9 ชั่วโมงต่อปี ความรู้อื่นที่เกี่ยวเนื่องกับวิชาชีพ จำนวนไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมงต่อปี ความรู้อื่นที่เกี่ยวเนื่องกับวิชาชีพ จำนวนไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมงต่อปี การอบรมของ CPTA

ความรู้ทางภาษีอากร จำนวนไม่น้อยกว่า 9 ชั่วโมงต่อปี ความรู้ทางภาษีอากร จำนวนไม่น้อยกว่า 9 ชั่วโมงต่อปี ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากร ประมวลรัษฎากรและวิชาชีพผู้ตรวจสอบ และรับรองบัญชีภาษีอากร และ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากร ประมวลรัษฎากรและวิชาชีพผู้ตรวจสอบ และรับรองบัญชีภาษีอากร และ ความรู้เกี่ยวกับภาษีเงินได้นิติบุคคล ความรู้เกี่ยวกับภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย และ ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย และ เทคนิคการตรวจสอบด้านการบัญชีภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร เทคนิคการตรวจสอบด้านการบัญชีภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร ความรู้อื่นที่เกี่ยวเนื่องกับวิชาชีพ จำนวนไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมงต่อ ปี อาทิ ความรู้อื่นที่เกี่ยวเนื่องกับวิชาชีพ จำนวนไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมงต่อ ปี อาทิ วิชาการบัญชี การสอบบัญชี วิชาการบัญชี การสอบบัญชี การบริหาร การเงิน การบริหาร การเงิน ความรู้เกี่ยวกับธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ ความรู้เกี่ยวกับธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ กฎหมาย การเมือง การปกครอง จริยธรรม กฎหมาย การเมือง การปกครอง จริยธรรม การอบรมของ CPTA

การอบรม ได้แก่ การเข้าร่วมกิจกรรมดังต่อไปนี้ การอบรม ได้แก่ การเข้าร่วมกิจกรรมดังต่อไปนี้ การเข้ารับการอบรม หรือการเข้าร่วมสัมมนา การเข้ารับการอบรม หรือการเข้าร่วมสัมมนา การเป็นวิทยากร หรือผู้บรรยาย การเป็นวิทยากร หรือผู้บรรยาย การเป็นอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ หรือ สถาบันอุดมศึกษา ของเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน การเป็นอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ หรือ สถาบันอุดมศึกษา ของเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน การสำเร็จการศึกษาในระดับที่สูงกว่าคุณวุฒิเดิม หรือในสาขาอื่นใน ระดับเดียวกัน การสำเร็จการศึกษาในระดับที่สูงกว่าคุณวุฒิเดิม หรือในสาขาอื่นใน ระดับเดียวกัน การเข้าร่วมกิจกรรมอื่นตามที่อธิบดีกำหนด การเข้าร่วมกิจกรรมอื่นตามที่อธิบดีกำหนด การนับจำนวนชั่วโมงตามปีประดิทิน ให้เริ่มนับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ของทุกปี การนับจำนวนชั่วโมงตามปีประดิทิน ให้เริ่มนับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ของทุกปี ในกรณีที่อธิบดีอนุมัติให้ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี ภาษีอากรหลังวันที่ 1 มกราคม ให้เริ่มนับจำนวนชั่วโมงตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ของปีถัดจากปีที่ CPTA ได้รับอนุมัติให้ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากรเป็นต้นไป ในกรณีที่อธิบดีอนุมัติให้ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี ภาษีอากรหลังวันที่ 1 มกราคม ให้เริ่มนับจำนวนชั่วโมงตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ของปีถัดจากปีที่ CPTA ได้รับอนุมัติให้ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากรเป็นต้นไป การอบรมของ CPTA

ระดับโทษของ CPTA ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากร” ที่ฝ่าฝืนระเบียบ ที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด อธิบดีฯ อาจพิจารณา ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษีอากร” ที่ฝ่าฝืนระเบียบ ที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด อธิบดีฯ อาจพิจารณา เตือน เตือน ภาคทัณฑ์ ภาคทัณฑ์ สั่งพักใบอนุญาตการเป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษี อากร สั่งพักใบอนุญาตการเป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษี อากร สั่งถอนใบอนุญาตการเป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษี อากร สั่งถอนใบอนุญาตการเป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีภาษี อากร

การพ้นสภาพและการกลับคืนสภาพ CPTA ที่การพ้นสภาพการกลับคืนสภาพ 1.ตาย- 2.ลาออก- 3.ขาดคุณสมบัติ- ถูกถอนใบอนุญาตการเป็น CPTA เพราะฝ่าฝืนระเบียบ หรือไม่ ประพฤติตนตามจรรยาบรรณอัน นำมาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ แห่งวิชาชีพอย่างร้ายแรง มีสิทธิยื่นคำขอต่ออธิบดีเพื่อขอเข้า รับการทดสอบเป็น CPTA เมื่อ พ้นกำหนด 3 ปี นับแต่วันที่ถูก ถอนใบอนุญาต เว้นแต่อธิบดีจะ พิจารณาเป็นอย่างอื่น ถูกเพิกถอนใบอนุญาตการเป็น CPA เมื่อกลับคืนสภาพการเป็น CPA

การพ้นสภาพและการกลับคืนสภาพ CPTA ที่การพ้นสภาพการกลับคืนสภาพ 4.ไม่ชำระค่าธรรมเนียมวิชาชีพ เมื่อได้ชำระค่าธรรมเนียม ครบถ้วนภายใน 3 ปี นับแต่วันที่ พ้นสภาพ 5.ไม่เข้ารับการอบรม เมื่อได้เข้ารับการอบรมตามที่ กฎหมายกำหนดครบถ้วนภายใน 3 ปี นับแต่วันที่พ้นสภาพ

การตรวจสอบรับรองบัญชีตามประมวลรัษฎากร ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีก่อนรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มใน 1 ม.ค ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่ เริ่มในหรือหลัง 1 ม.ค เป็นต้นไป ตรวจสอบรับรอง เฉพาะทางบัญชี การตรวจสอบและรับรอง บัญชีการเงิน บัญชีภาษี อากร บริษัท/ ห้างฯ ไทย ที่มิใช่ SMEsตามพรฎ. บริษัท/ ห้างฯ ไทย ที่มิใช่ SMEsตามพรฎ.(ฉ.471) นิติบุคคลต่างประเทศ นิติบุคคลต่างประเทศ กิจการร่วมค้า กิจการร่วมค้าCPACPA CPTA* ห้างฯ ไทยขนาดเล็ก (SMEs) ห้างฯ ไทยขนาดเล็ก (SMEs) CPA/ TA - CPTA* นิติบุคคลอื่น (ภ.ง.ด. 52) นิติบุคคลอื่น (ภ.ง.ด. 52)-- CPTA ? * ดังนั้น ในปี 2552 จึงควรจะต้องมีการดำเนินการจัดหา CPTA เกิดขึ้น เพื่อให้มี CPTA ปฏิบัติงานในรอบปี 2553

CPTA ดีไม่ดี ดี - มีความเชื่อมั่น - เลิกจ้าง - มีการกำกับโดย มบ. ไม่ดี - ทำหน้าที่ CPTA ที่ดี - กรมฯ ตรวจสอบ - กรมฯ ต้องจัดการ โดยด่วน กรมสรรพากรจะเชื่อมั่นได้อย่างไรว่า เมื่อมี CPTA แล้วการเสียภาษีอากรจะถูกต้องครบถ้วน ผู้ประกอบการ

ความคิดเห็นเกี่ยวกับ CPTA ผู้ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ CPTA ผู้ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ CPTA 1. เข้าใจว่า CPTA น่าจะนำแบบอย่างจากประเทศญี่ปุ่น ที่ใช้มืออาชีพใน การช่วยเหลือเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีอากรอย่างได้ผล เพราะทุกวันนี้ผู้ เสียภาษีมีมาก ลำพังเจ้าหน้าที่สรรพากรมีน้อยย่อมดูแลไม่ทั่วถึง และ CPA หรือ TA ที่มีอยู่ก็เน้นเพื่อการรับรองบัญชีเป็นไปตามมาตรฐาน บัญชี และเป็นไปตามเงื่อนไขของกรมสรรพากร เท่านั้น ซึ่งแต่ละคนเซ็น งบจำนวนมากนับเป็นร้อยราย ทั้งที่ในความเป็นจริง ถ้ากรมสรรพากร ทดลองเรียกผู้รับรองมาไต่สวนสอบถามจะไม่รู้เรื่องเกี่ยวกับกิจการที่ รับรองเลย ดังนั้นการที่ CPA หรือ TA รับรองแล้วนั้นคงไม่สามารถเชื่อ ได้ว่า กิจการนั้นเสียภาษีถูกต้อง

ผู้ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ CPTA ผู้ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ CPTA 2. นับเป็นแนวคิดที่ดีที่จะนำ CPTA มารับรองบการเสียภาษีเป็นการ เฉพาะ นอกเหนือจาก CPA หรือ TA ที่ควรรับรองความถูกต้องทาง มาตรฐานบัญชีเท่านั้น อีกทั้งก็ไม่สามารถสรุปได้ว่า CPA หรือ TA จะมี ความรู้ความชำนาญด้านภาษีสรรพากร ซึ่งยากแก่การทำความเข้าใจ จำเป็นต้องใช้ประสบการณ์พอสมควรและต้องมีองค์ความรู้หลากหลาย ประกอบที่จะเข้าใจได้ถึงธุรกิจและภาษีอากร ซึ่งหากกิจการใดมี CPTA ผู้มีความรู้ความชำนาญเป็นผู้รับรองงบการเสียภาษีสามารถอธิบายได้ เชื่อว่า CPTA ผู้นั้นจะไม่กล้ารับรองการเสียภาษีได้ง่ายๆ เพราะมีความรู้ ความเข้าใจว่ากิจการนั้นเสียภาษีถูกต้องหรือไม่เพียงไร และเชื่อได้ว่า CPTA แต่ละคนจะรับรองจำนวนรายได้ไม่มาก เพราะต้องมีความ รับผิดชอบ อีกทั้งอาจต้องร่วมรับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นได้ ก็ จะทำให้เสียภาษีของกิจการดีขึ้นเป็นการช่วยเหลือทางราชการได้อย่าง มาก ความคิดเห็นเกี่ยวกับ CPTA

ผู้ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ CPTA ผู้ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ CPTA 3. วิธีคัดกรองหา CPTA ที่ต้องมีความรู้ความสามารถ เพื่อนำมาช่วยใน การควบคุมกำกับดูแลการจัดเก็บภาษีอากร อันจะเป็นผลดีต่อทางราชการ หัวใจสำคัญของการเสียภาษีอากร อยู่ที่ประมวลรัษฎากร ซึ่งเป็น พระราชบัญญัติอันเป็นกฎหมายเฉพาะ ผู้ที่จะเป็น CPTA ควรเน้นความ เข้มข้นพื้นความรู้ทางกฎหมายมากกว่าทางบัญชี ทั้งนี้ เนื่องจาก งบ การเงินที่ยื่นเพื่อเสียภาษีได้มีการรับรองมาตรฐานบัญชีจาก CPA หรือ TA อยู่แล้ว ความคิดเห็นเกี่ยวกับ CPTA