การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
Advertisements

ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ/ตำบล มุ่งสู่ คปสอ./รพ.สต.ติดดาว
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
จังหวัดสุพรรณบุรี. วันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ เขต มอบนโยบายการจัดทำแผน สุขภาพเขต การประชุมระดับเขต ครั้งที่ ๑ วันที่ ๑๓ – ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๕ แบ่งการ ดำเนินงานออกเป็น.
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
สุขภาพจิต ในงานสาธารณสุขไทย 2556.
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นายอาทิตย์ อิสโม รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ดำเนินงานอนามัยวัยทำงาน ปี 2555
แผนบริหารราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติราชการ กระทรวงสาธารณสุข พ. ศ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
องค์ความรู้สุขภาพจิตที่เข้าอบรม จังหวัด/จำนวนผู้เข้าร่วม
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
ส่งเสริมสัญจร.
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
แผนงานดูแลผู้สูงอายุ
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
1 อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ในเขต 7 ที่ผ่านเกณฑ์ สรุป : อำเภออนามัยเจริญพันธุ์ ในภาพเขต 7 ผ่านเกณฑ์ร้อยละสะสม กระบวนการ มีส่วนร่วมในเขตชัดเจนมากที่สุด มีการกำกับติดตามที่ชัดเจนมากส่งผลให้ขอเป็น.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
Pass:
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ด้านการดำเนินงานการตั้งครรภ์หญิง วัยรุ่น o ๑. มาตรการด้านบริหารจัดการ การประชุมพิจารณา กรอบแนวทางการประเมินผลตามตัวชี้วัด และ มาตรฐานการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญ.
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน

ร้อยละของเด็กวัยเรียน (๖-๑๒ ปี )มีส่วนสูงระดับดี และรูปร่างสมส่วน (ไม่น้อยกว่า ๗๐ )

การดูแลกลุ่มเด็กอ้วน ใช้โปรแกรมการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 6-12 ปี แผนงานส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน การดำเนินงาน เป้าหมาย ผลงาน ส่วนสูงระดับดี รูปร่างสมส่วน ≥ ร้อยละ 70 89.86 พัฒนาตามกระบวนการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ : ระบบเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ ภาวะโภชนาการ , การตรวจสุขภาพด้วนตนเอง ข้อเสนอ การดูแลกลุ่มเด็กอ้วน ใช้โปรแกรมการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 6-12 ปี โอกาสพัฒนา

มีต้นแบบอำเภออนามัย การเจริญพันธุ์ (เกษตรวิสัย) แผนงานส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่น การดำเนินงาน เป้าหมาย ผลงาน ดำเนินการคลินิกวัยรุ่น ทุกแห่ง 17 รพ. YFHS ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 30 % 1 แห่ง มีต้นแบบอำเภออนามัย การเจริญพันธุ์ (เกษตรวิสัย) จุดเด่น

อัตราการใช้ถุงยางอนามัยของนักเรียนชาย ระดับมัธยมศึกษา ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๕๐ ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลงาน เป้าหมาย ร้อยละ อัตราการใช้ถุงยางอนามัยของนักเรียนชายระดับมัธยมศึกษา ข้อมูลจากการสำรวจปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ ๔๙ ๔๔ ๘๙.๗๙ จากการสำรวจนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ จำนวน ๓๒๙ คน

การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคทุกกลุ่มวัย กลุ่มเด็ก สตรี กลุ่มเด็กปฐมวัย กลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน กลุ่มวัยทำงาน

จังหวัดร้อยเอ็ดมีกระบวนการจัดระบบบริหารจัดการEPI พัฒนาศักยภาพ ผู้รับผิดชอบงานEPI ระดับอำเภอ ตำบล ให้รับรู้และ มีแนวทางการปฏิบัติงานEPI การบริหารจัดการวัคซีนได้อย่างมีคุณภาพ การให้บริการวัคซีนที่ถูกต้อง การจัดการกับข้อมูล ทบทวน ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ วิเคราะห์ข้อมูลรายอำเภอ

ความก้าวหน้าของจังหวัดร้อยเอ็ดต่อ ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศรอบที่ ๑/๒๕๕๖ ในประเด็นของการบริหารจัดการข้อมูลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ผู้รับผิดชอบงาน EPI ของ สสจ.เริ่มนำข้อมูลในสถานบริการระดับอำเภอมาวิเคราะห์เชิงลึก เพื่อวางแผนพัฒนางาน จัดระบบการติดตามข้อมูลความครอบคลุม EPI ได้ชัดเจนและเป็นรูปธรรม

ผลการดำเนินงานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลงาน เป้าหมาย ร้อยละ ร้อยละของเด็กอายุ ๑ ปี ที่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัด ไม่น้อยกว่า ๙๕ ๗,๓๕๓ ๗,๒๙๒ ๙๙.๑๗ ร้อยละของเด็ก ๐- ๒ ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า ๙๐ BCG DPT-HB3 OPV3 DPT3 DPT4 OPV4 ๘,๙๑๔ ๘,๗๒๘ ๙๗.๙๑ JE2 ๘,๕๙๕ ๙๖.๔๒

ผลการดำเนินงานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลงาน เป้าหมาย ร้อยละ ร้อยละของเด็กอายุ ๓-๕ ปี ที่ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า ๙๐ JE 3 (ร้อยละของเด็กอายุ ๓ ปี ) ๑๐,๗๗๐ ๑๐,๕๔๓ ๙๗.๘๙ OPV5 ๑๒,๑๘๑ ๑๑,๙๓๗ ๙๘.๐๐ DPT5

ผลการดำเนินงานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลงาน เป้าหมาย ร้อยละ ร้อยละของเด็กอายุ ๖- ๑๒ ปี ได้รับวัคซีนกระตุ้นทุกประเภทตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า ๙๐ MMR 2 (นักเรียนชั้น ป.๑) ๑๑,๗๑๑ ๑๐,๕๔๙ ๙๐.๐๘ dT ๑๓,๐๘๙ ๑๑,๙๗๐ ๙๑.๔๕ ร้อยละของประชาชนเป้าหมายได้รับการฉีดวัคซีนกระตุ้นครบตามเกณฑ์ มากกว่า ๙๐ ๕๗,๗๘๘ กำลังดำเนินการ

จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา ตัวชี้วัดที่ 24 ร้อยละของเด็กประถม 1 การดำเนินงาน เป้าหมาย ผลงาน ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ≥ ร้อยละ 85 90.36 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน ≥ ร้อยละ 30 43.92 * เด็กได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและเคลือบหลุมร่องฟันเพิ่มขึ้นจากรอบที่ 1 การทำงานร่วมกับฝ่ายการศึกษา พัฒนาครูในการตรวจเฝ้าระวังในโรงเรียน พัฒนาเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา

ร้อยละของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) และเชื่อมโยงกับระบบช่วยเหลือในโรงเรียน เช่น ยาเสพติด บุหรี่ OSCC คลินิกวัยรุ่นฯลฯ เป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ผลการดำเนินงาน ดำเนินการได้17 แห่ง จากเป้าหมาย 17แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 100 เชิงปริมาณ มีการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและการใช้ครอบครัวอบอุ่นต้นแบบในการแก้ไขปัญหาเด็กและวัยรุ่นจากการมีส่วนร่วมเครือข่าย อปท. จำนวน10 อำเภอ เป็นพื้นที่ 1ใน 6 ของประเทศ ที่มีโครงการนำร่องนักจิตวิทยาโรงเรียน ส่งผลให้การดำเนินงานชัดเจน เชิงคุณภาพ ขยาย ต้นแบบไปทุกอำเภอ โอกาสในการพัฒนา

การเยี่ยมชมให้กำลังใจ

ขั้นที่ 1 การเตรียมทีมงาน