การประชุมชี้แจงแผนปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข คปสอ.สังขะ-ศรีณรงค์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ
Advertisements

เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2557.
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ผลการดำเนินงาน ตค.50 – มค.51. รหัส ตัวชี้วัดเกณฑ์ผลการดำเนินงานจังหวัด เป้าหมาย(Y)ผลงาน (X)อัตร า (Z) 1001 ประชาชนที่มี หลักประกันสุขภาพ ได้รับบริการ.
สรุปกิจกรรมการประชุมวันที่ 6 ตุลาคม 2553
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
ยุทธศาสตร์การเสริมพลัง
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
รอบที่ 2 ปีงบประมาณ สรุปตามมิติทาง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาองค์กร ร้อยละ 22 ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ร้อยละ 15 คุณภาพการบริการ ร้อยละ 22 ประสิทธิผลตาม.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมชี้แจงแผนปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข คปสอ.สังขะ-ศรีณรงค์ ปี 2554 วันที่ 28 มกราคม 2554 ห้องประชุมสานฝัน โรงพยาบาลสังขะ

ก้าวไกลนวตกรรมท้องถิ่น ” วิสัยทัศน์ คปสอ.สังขะ-ศรีณรงค์ “สุขภาพดี วิถีไทย ก้าวไกลนวตกรรมท้องถิ่น ” 2 2 2 2 2 2

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการส่งเสริมสุขภาพ 7 กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการควบคุมป้องกันโรค 4 กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ 6 กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ที่ 6 การเป็นเลิศด้านนวตกรรม และมาตรฐานงานบริการ 2 กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการรักษาพยาบาล/ การส่งต่อ/ การฟื้นฟูสภาพ 2 กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค และสิทธิ์หลักประกันสุขภาพ 3 กลยุทธ์ 3

ระบบบริการที่มีคุณภาพ ปชช.พึงพอใจ - หาย - ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ประเด็นการพัฒนาที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพประชาชนและ ศักยภาพความเข้มแข็งของเครือข่าย สุขภาพ ประเด็นการพัฒนาที่ 2 พัฒนาคุณภาพบริการ ประเด็นการพัฒนาที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการ สนับสนุนการทำงานร่วมกัน ประสิทธิผล ระบบบริการที่มีคุณภาพ ปชช.พึงพอใจ คุณภาพ - หาย - ไม่มีภาวะแทรกซ้อน พัฒนาระบบบริการตามเครื่องมือ( PCA / HA / QA…..) 1. พัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ทุกแห่ง ปรับโฉมสู่รพสต. - การรักษาทางไกล (Ovoo Skype Webcam) ในรพ.สต.ทุกแห่ง - จัดให้มีสหวิชาชีพประจำ รพ.สต. ทุกแห่ง 2. พัฒนาระบบบริการทุติยภูมิ - พัฒนา รพ. เป็น 2.2 (แผน 3 ปี) ครบ 5 สาขา / ครุภัณฑ์ / LAB - พัฒนาระบบงานตามกลุ่มโรคเชื่อมโยง ระดับสถานบริการกับระบบส่งต่อ - ลดระยะเวลารอคอย ระบบตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน / สถานการณ์ภัยทางสุขภาพ / โรคอุบัติใหม่ -ซ้อมแผนฯ/ พัฒนาอำเภอ เข้มแข็งควบคุมโรค (SRRT) พัฒนางานบริการ 1.รพ. – ทุติยภูมิ 2.2 2.รพสต.- คุณภาพการรักษา - การส่งต่อ - โรคเรื้อรัง , ANC ที่มีคุณภาพ พัฒนาเครือข่ายภาคประชาชน (แผนที่ยุทธศาสตร์ + คกก.กองทุน ตำบล) -พัฒนา อสม.ให้เขียนโครงการได้เพื่อ รองรับแผนชุมชน กองทุนตำบล หมู่บ้านลดโรค ตำบลลดโรค -พัฒนากลไกเครือข่ายสุขภาพ ประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการ พัฒนางานส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรค - หมู่บ้านลดโรค (โรคติดต่อ-โรคไม่ติดต่อ) - อำเภอ/ตำบลเข็มแข็งด้านการควบคุม ป้องกันโรคแบบยั่งยืน พัฒนาระบบส่งต่อ (ช่องทางด่วน) พัฒนาสมรรถนะบุคลากร 1.รพสต.-เพิ่มศักยภาพการรักษา -การค้นหาความเสี่ยงแม่และเด็ก 2.รพ. – การวินิจฉัยโรค / ทักษะ (สูติ, MED ,เด็ก,แพทย์แผนไทย,แพทย์ทางเลือก) พัฒนาคน 1.กระจายตามเกณฑ์ 2.สหวิชาชีพลงครบโดยเฉพาะ พยาบาลวิชาชีพ ทันตาภิบาล และแพทย์แผนไทย ระบบข้อมูล IT - Data Center - CUP - ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร -ระบบให้คำปรึกษาทางไกล พัฒนาองค์กร

แผนงาน/โครงการ อนุกรรมการกลุ่มการพยาบาลฯ จำนวน 39 โครงการ 3,028,610 บาท อนุกรรมการงานทันตกรรม จำนวน 8 โครงการ 195,510 บาท อนุกรรมการงานเภสัชฯ จำนวน 14 โครงการ 339,690 บาท อนุกรรมการงานส่งเสริมฯ จำนวน 34 โครงการ 5,178,620 บาท อนุกรรมการงานป้องกันฯ จำนวน 23 โครงการ 3,250,699 บาท อนุกรรมการ รพ.สต. จำนวน 1 โครงการ 533,500 บาท อนุกรรมการงานบริหาร จำนวน 10 โครงการ 4,069,060 บาท อนุกรรมการงาน PCA จำนวน 1 โครงการ 207,496 บาท รวม 130 โครงการ จำนวน (14,106,771) 16,849,210 บาท

การบริหารแผนงาน/โครงการ ขออนุมัติแผน - ตรวจสอบแผนจากแผนปฏิบัติงาน ฯ ปี 2554 - จัดทำแผนงาน/โครงการ เต็มรูปแบบ - ผ่านความเห็นชอบผู้บริหาร - แผน คปสอ. ผ่านสสอ.สังขะ ,สสอ.ศรีณรงค์ - แผน อำเภอ ผ่านเฉพาะ สสอ.อำเภอนั้น ๆ - อนุมัติแผน บันทึกข้อความ 1 ฉบับ + แผนฯ - เสนอผ่านเลขานุการ คปสอ. - ประธาน คปสอ. อนุมัติ

การบริหารแผนงาน/โครงการ การดำเนินการ - ประสานงาน ( เชิญประชุม,เชิญวิทยากร,ยืมเงิน,โอนเงิน ฯลฯ) - ดำเนินการตามแผน - รวบรวมเอกสารทางการเงิน (ล้างเงินยืม,ส่งเบิก) สรุปกิจกรรม - รายงานผลตามแบบสรุปกิจแผนงาน/โครงการ - รายงานตามแบบกิจกรรมที่กำหนด

กิจกรรมที่ดำเนินการทุกสอ. โอนเงินแล้วส่งรายละเอียด - โอนตามแผนงาน การบริหารการเงิน รูปแบบการดำเนินการ - โอนล่วงหน้า กิจกรรมที่ดำเนินการทุกสอ. โอนเงินแล้วส่งรายละเอียด แผนงาน/โครงการแจ้งภายหลัง - โอนตามแผนงาน กิจกรรมเฉพาะพื้นที่ ทำหนังสือแจ้งพร้อมโอนเงิน

ปฏิทินการนิเทศงานและประเมินผล แผนกำกับการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข คปสอ. สังขะ - ศรีณรงค์ จ.สุรินทร์ ปี 2554 เก็บตกผลงา 10 % - ผลงานเพิ่มเติม 30 % - เก็บผลงาน/ปรับปรุงผลงาน ผลงาน 60 % (6 เดือน) - ตรวจสอบผลงาน - ดูผลงานทั้งหมด 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 1 2 3 ตค.53 พย.53 ธค.53 มค.54 กพ.54 มีค.54 เมย.54 พค.54 มิย.54 กค.54 สค.54 กย.54 ตค 54 เริ่มจัดทำแผนปี 2555 ปฏิบัติงานตามแผนปี 2555 1. นำเสนอผลงาน 2. ดูความก้าวหน้าของงาน 3. รวบรวมผลงาน 1. ดูความก้าวหน้า 2. สรุปผลงาน/รวบรวมรายงาน ประเมินผลงานโดย สสจ.สุรินทร์ นิเทศงาน 1 นิเทศงาน 2

กรอบการประเมินผลงานสาธารณสุข มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ผลสำเร็จของของหน่วยงาน อนุกรรมการต่างๆ ใน คปสอ.สังขะ - ศรีณรงค์ มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ข้อร้องเรียนที่ดำเนินการจนได้ ข้อยุติ มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ระดับความสำเร็จ ของการบริหารแบบ มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ระดับความสำเร็จ ของการดำเนินการ ตามมาตรการ ประหยัด การรักษามาตรฐาน ระยะเวลาการให้บริการ มิติที่ 2 (ร้อยละ 10 ) มิติที่ 3 (ร้อยละ 10 ) มิติที่ 1 (ร้อยละ 50 ) มิติที่ 4 (ร้อยละ 30 ) มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบข้อมูล เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาขีดสมรรถนะบุคลากร ร้อยละของบุคลากรได้รับการพัฒนา สมรรถนะที่จำเป็น 10

ตัวชี้วัดการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปี 2554 สสจ.สุรินทร์ ตัวชี้วัดการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปี 2554 สสจ.สุรินทร์ KPI สสจ. 53 ตัวชี้วัด หน่วยงาน/ฝ่าย/งาน ? ตัวชี้วัด KPI หน่วยงาน สสอ./สอ. 34 ตัวชี้วัด + ภารกิจ รพ. 46 ตัวชี้วัด KPI รายบุคคล KPI รายบุคคล KPI รายบุคคล

รูปแบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน ปี 2554 มี 4 รูปแบบ  การประเมินตนเองตามเกณฑ์มาตรฐานกำหนด( ผู้รับผิดชอบ,คลินิก,หน่วยงาน)  ประเมินตามแผนงาน/โครงการ ( ผู้รับผิดชอบ,อนุกรรมการ)  ประเมินตามตัวชี้วัดการปฏิบัติราชการสสจ.สุรินทร์ (รพ.46 สสอ.สอ.34) ประเมินผลการปฏิบัติงานรอบ 6 เดือน 12 เดือน

การตั้งเป้าหมายและการประเมินผลรอบที่ 1  ตั้งเป้าหมาย ระยะเวลา 29 มค. 54 – 10 กพ. 54  ส่งเป้าหมายตัวชี้วัด 11 กุมภาพันธ์ 54  ส่งผลการประเมินรอบ 6 เดือน วันที่ 25มีค.54

สอบถาม

สวัสดี