การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

การประกันคุณภาพภายนอก
1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร กำแพงแสน
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เพื่อรับการประเมินภายนอก
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
การตรวจสอบธุรกิจสินเชื่อ
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
โครงการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (นักพัฒนามาตรฐาน)
เอกสารประกอบการสอน การรวบรวมใบความรู้เป็นรูปเล่ม
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม-ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2557.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประเมินคุณภาพภายใน โดยต้นสังกัด
1 การประเมิน คุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน เขตการศึกษา วันที่
รูปแบบของการรายงานผลการ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2549/ ปีงบประมาณ คณะกรรมการประเมินคุณภาพ ภายใน 2. ข้อมูลของคณะ / หน่วยงาน ( โดยสังเขป ) 3.
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานการบริหารและการจัดการศึกษา
การดำเนินงานโครงการ เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ การประเมิน จาก ภายนอก รอบสาม ของ สพป. กาญจนบุรี เขต ๑.
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัดอุดรธานี
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
กลุ่มวิจัยและพัฒนาสหกรณ์
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
หน่วยที่ 3 การจัดทำรายงานการประเมิน
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
แนวปฏิบัติที่ดีของ การประกันคุณภาพ การศึกษา. ที่องค์ประกอบ ผลการประเมิน ปี 52 ปี 53 ปี 54 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผน ดำเนินการ
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

หลักการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา (Quality Monitoring and Audit) เป็นการกระบวนการ ติดตามตรวจสอบความก้าวหน้าการดำเนินงานของ การปฏิบัติตามแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และจัดทำรายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพ การศึกษา พร้อมทั้งเสนอแนะมาตรการเร่งรัดการ พัฒนาคุณภาพการศึกษา

หลักการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 1. การกำหนดระยะเวลาในการติดตามตรวจสอบคุณภาพ การศึกษา โดยต้นสังกัด อย่างน้อย 1 ครั้งในทุก 3 ปี 2. การแต่งตั้งคณะกรรมการในการติดตามตรวจสอบคุณภาพ การศึกษา 3. การดำเนินงานติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 4. การจัดทำรายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 5. การนำข้อมูลที่ได้ไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา และรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก

วัตถุประสงค์ของการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 1. เพื่อให้เขตพื้นที่สามารถติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา รวบรวมข้อมูลความก้าวหน้าของการดำเนินงาน และ การปฏิบัติงานของสถานศึกษาได้อย่างต่อเนื่อง 2. เพื่อให้สถานศึกษานำผลการติดตามตรวจสอบฯ มาใช้ ในการปรับปรุงและพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน ของสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง 3. เพื่อนำข้อมูลผลการติดตามตรวจสอบฯไปจัดทำรายงาน และเตรียมพร้อมรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก

บทบาทของผู้ทรงคุณวุฒิในฐานะผู้ติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษากับหน่วยงานต้นสังกัด 1. ขั้นเตรียมการก่อนการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 1.1 ศึกษาหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกัน คุณภาพ ตามกฎกระทรวงฯ 1.2 ประชุมวางแผนการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ร่วมกันกับคณะกรรมการติดตามตรวจสอบของเขตพื้นที่ 1.3 แบ่งหน้าที่ผู้ติดตามตรวจสอบในการติดตามตรวจสอบ คุณภาพการศึกษาตามระบบการประกันคุณภาพภายใน 8 องค์ประกอบ 1.4 จัดทำตารางการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

2. ขั้นเตรียมระหว่างการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 2.1 ตรวจสอบเอกสารอ้างอิงในแต่ละองค์ประกอบ ของระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา จากข้อมูลหลาย ๆ แห่ง 2.2 รายงานผลการติดตามตรวจสอบขั้นต้นอย่าง ไม่เป็นทางการ พร้อมทั้งให้ข้อสังเกต ชี้แนะและให้ คำปรึกษาแก่สถานศึกษา เทคนิคการเก็บข้อมูล การบันทึกข้อมูลควรจะจดบันทึกโดยทันที เพื่อให้ข้อมูลมีความแม่นยำ บันทึกรายละเอียดต่างๆ ให้ได้มากที่สุด

3. ขั้นดำเนินการหลังการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 3.1 ตรวจสอบความครบถ้วน ความชัดเจนของข้อมูล เอกสารสนับสนุนหรือเอกสารอ้างอิงที่เพียงพอ และเชื่อถือได้ 3.2 เขียนรายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพ การศึกษาพร้อมให้ข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ และมาตรการ เร่งรัดกระบวนการดำเนินงานของระบบการประกันคุณภาพ ภายใน 3.3 นำเสนอรายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพ การศึกษาโดยต้นสังกัด ต่อสถานศึกษาและสาธารณชนทราบ พร้อมทั้งนำผลจากการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา โดยต้นสังกัดเตรียมรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก

กับการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิ กับการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานตามแผนฯของสถานศึกษา สรุป และรายงานผลการติดตาม ให้คำแนะนำระหว่างดำเนินการติดตามตรวจสอบ ให้คำปรึกษาแก่สถานศึกษาในประเด็นต่างๆ เพื่อการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

เครื่องมือติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา แบบติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษายึดตามองค์ประกอบ 8 องค์ประกอบตามระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา รายละเอียดเป็นไปตามประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระบุผลการดำเนินงานและสะท้อนข้อมูลในเชิงคุณภาพ