ห้องสมุดดิจิทัล Digital library

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด ในประเทศไทย (ThaiLIS) แผนกฝึกอบรม.
ACM คืออะไร หน้าจอหลัก
โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด 08/04/54 การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library โดย จิรวัฒน์ พรหมพร
Real Time Information Integration System
Dublin Core Metadata tiac. or
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดเก็บฐานข้อมูลข้อสอบ
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
ปรับปรุงล่าสุด 28/08/53 โดย... ประภาศรี ฟุ้งศรีวิโรจน์ แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 10/01/54 โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals โดย...จิรวัฒน์ พรหมพร
ชุดที่ 2 Hardware.
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
Save Smart Multi Purpose Conceptual Idea. Key to Succeed CRU ICT 2010.
เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ แนวคิดเกี่ยวกับขอบเขตและประเภทของแหล่งสารสนเทศ
กลไกทำงานเพื่อสนับสนุน การยืมระหว่างห้องสมุด ของเครือข่าย ThaiLIS
การจัดหา การติดตั้ง และการบำรุงรักษาระบบ
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปฏิบัติการที่ 13 การใช้งาน Online Bookmarking
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System)
แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด
การเตรียมสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :MIS)
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
Chapter 1 Introduction to Information Technology
โครงสร้างการทำงานของ OS
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
สมพร พุทธาพิทักษ์ผล สำนักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด ในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด.
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ MIS Management Information System
โครงสร้างทรัพยากรสารสนเทศ
Web/Library 2.0 เทคโนโลยีใหม่ในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
System Integration.
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
ศูนย์สารสนเทศแห่งชาติ
Virtual Library ห้องสมุดเสมือน.
กระบวนการบริหารจัดการระบบงานสารสนเทศ
เพื่อช่วยพัฒนาศักยภาพ
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
ห้องสมุดดิจิทัล Digital library
Geographic Information System
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
..เทคโนโลยีการใช้RFIDกับงานในห้องสมุด
LOGO 1. Moodle (Modular Object- Oriented Dynamic Learning Environment) คือ โปรแกรมที่ ประมวลผลในเครื่องบริการ (Server-Side Script) ทำหน้าที่ให้บริการระบบ.
Introduction to Server Services
Software ส. อ. ประกาศิต วรนุช ไมโครคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเฉลิมกาณจนา บุรีรัมย์ ลิขสิทธิ์ โดย ส. อ. ประกาศิต วรนุช ไมโครคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย เฉลิมกาณจนา บุรีรัมย์
กิจกรรมที่ เครือข่ายและ Internet explorer จุดมุ่งหมาย ให้ผู้เรียนรู้จักการใช้ประโยชน์ จากเครือข่าย ให้ผู้เรียนรู้จักการใช้ประโยชน์ จากเครือข่าย ให้ผู้เรียนรู้จักวิธีการเผยแพร่
สำแดงทิศทางห้องสมุด มหาวิทยาลัยไทย : ความท้าทาย รศ. ดร. สมพร พุทธาพิทักษ์ผล สำนักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในการประชุมวิชาการเรื่อง “ ก้าวสู่ปีที่
มาตรฐานการจัดเก็บ การ ค้นคืน การแลกเปลี่ยนและการ เชื่อมโยงเครือข่าย สมพงษ์ เจริญศิริ สันติภาพ เปลี่ยนโชติ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
นาย เกียรติศักดิ์ แสนนวล โรงเรียนจักรคำคณาทรลำพูน
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
Mr. Winai Purikasem. Introduction  Hypertext model  Use of hypertext in World Wide Web (WWW)  WWW client-server model  Use of TCP/IP protocols in.
Acquisition Module.
บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบสารสนเทศ
การประชุมวิชาการประจำปี ศสท
Multimedia Production
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ห้องสมุดดิจิทัล Digital library

http://youtu.be/E9xvzvKMbys

A digital library is an integrated set of services for capturing, cataloging, storing, searching, protecting, and retrieving information, which provide coherent organization and convenient access to typically large amounts of digital information. ห้องสมุดดิจิทัลเป็นการรวมของบริการจัดหา จัดหมู่ จัดเก็บ ค้นหา ป้องกัน และสืบค้นสารสนเทศซึ่งสามารถเข้าถึงสารสนเทศดิจิทัลจำนวนมากได้

Digital libraries are realizations of architecture in a specific hardware, networking, and software situation, which emphasize organization, acquisition, preservation, and utilization of information. สถาปัตยกรรมของห้องสมุดดิจิทัลเป็นฮาร์ดแวร์ เครือข่าย ซอฟท์แวร์เฉพาะซึ่งเน้นการจัดการ การจัดหา การสงวนรักษา และบำรุงรักษาสารสนเทศ

องค์ประกอบของ DL system

User interfaces ส่วนติดต่อผู้ใช้ 2 user interfaces in two parts: end-users digital librarians and system administrators who manage the collections Web browser เป็นตัวเชื่อมต่อกับ client services ซึ่งทำหน้าที่เชื่อมกับระบบและช่วยผู้ใช้ในการตัดสินใจว่าจะสืบค้นอะไร

Repository จัดเก็บและจัดการ digital objects และสารสนเทศอื่นๆ ห้องสมุดดิจิทัลขนาดใหญ่สามารถมีหลาย repositories และหลายประเภท

Handle system เป็นตัวระบุ digital objects ใน repository หรือฐานข้อมูล

Search system ระบบห้องสมุดอัตโนมัติออกแบบมาเพื่อให้สามารถมี indexes and catalogs จำนวนมากซึ่งสามารถพบได้ก่อนการสืบค้นจากrepository. แต่ละ indexes ได้รับการจัดการแยกจากกันและสนับสนุนหลายๆ protocols

สถาปัตยกรรมห้องสมุดดิจิทัล DL architecture สถาปัตยกรรมห้องสมุดดิจิทัล

Digital library architecture Notional Architecture Operational Architecture Technical Architecture System Architecture

Notional Architecture

Notional Architecture ห้องสมุดดิจิทัลเกี่ยวข้องกับ digital information and metadata Metadata เป็นข้อมูลเกี่ยวกับ digital object (Data about data) Metadata มีความสำคัญต่อการค้นคืนสารสนเทศ รายการ metadata ใช้ในการอ้างอิงถึงชุดของ digital objects. Metadata ป้อนข้อมูลในรูปแบบของเขตข้อมูล (fields)

Operational Architecture ให้ความสำคัญกับการไหลเวียนของสารสนเทศ (information flow) ในระบบ ห้องสมุดดิจิทัลเป็นการรวมระบบและทรัพยากรในที่ต่างๆ กันเป็นเครือข่ายและใช้การติดต่อผู้ใช้ (interface) เพียงอันเดียว จึงอาจดูเหมือนเป็นระบบเดียวแก่ผู้ใช้

Technical Architecture functional components Hardware (Servers, PCs(Clients),Modems, Storage devices, Book Scanner, CD/DVD Writers and digital camera, Video digitizer, UPS backup etc) Software (OCR, Linux/Solaris, MS Windows (Windows NT, Windows 95, Windows 98 etc), ORACLE, publishing Software, Search Engines etc.) Digital resources (CDs, E-journals, Scientific & Technical journals like, IEEE, ACM, ACS etc) การแปลงทรัพยากรเป็น digital format และได้รับการอนุญาต (licensing agreements) High Speed Internet

System Architecture ระบบของ digital library system DL เป็นระบบบริหารส่วนกลางที่ปฏิสัมพันธ์กับผู้ผลิตข้อมูลและผู้ใช้ที่หลากหลายภายในระบบที่ซับซ้อน

องค์ประกอบของ DL Architecture Repository Persistent (and unique) identifiers Data Metadata Digital Objects Access and Delivery

Modern Features in Digital Library Architectures

Social networking sites Social networking, bookmarking and tagging Reviews Recommendation features Citation and reference linking Bibliometric tools

Users interact with resources and create tags Tag 1 Tag2 Tag 3 Tag 1 24

Social Tagging Environment Photo sharing Slide sharing Videoblogging and sharing Social networks Academic bookmarking Bookmarking

26 26

27 27

28 28

29 29

30 30

Citation linking 31 31

Get it! Citation linker 32 32

33 33

จงอธิบายคำต่อไปนี้ URNs intellectual property Digital Library Interoperability Protocols Z39.50 OAI (Open Archives Initiative) Metadata MARC Dublin Core Persistent (and unique) identifiers Repository XML OSS (Open Source Software) Digital library software Greenstone Fedora D-space Eprint Social computing