ห้องสมุดดิจิทัล Digital library
http://youtu.be/E9xvzvKMbys
A digital library is an integrated set of services for capturing, cataloging, storing, searching, protecting, and retrieving information, which provide coherent organization and convenient access to typically large amounts of digital information. ห้องสมุดดิจิทัลเป็นการรวมของบริการจัดหา จัดหมู่ จัดเก็บ ค้นหา ป้องกัน และสืบค้นสารสนเทศซึ่งสามารถเข้าถึงสารสนเทศดิจิทัลจำนวนมากได้
Digital libraries are realizations of architecture in a specific hardware, networking, and software situation, which emphasize organization, acquisition, preservation, and utilization of information. สถาปัตยกรรมของห้องสมุดดิจิทัลเป็นฮาร์ดแวร์ เครือข่าย ซอฟท์แวร์เฉพาะซึ่งเน้นการจัดการ การจัดหา การสงวนรักษา และบำรุงรักษาสารสนเทศ
องค์ประกอบของ DL system
User interfaces ส่วนติดต่อผู้ใช้ 2 user interfaces in two parts: end-users digital librarians and system administrators who manage the collections Web browser เป็นตัวเชื่อมต่อกับ client services ซึ่งทำหน้าที่เชื่อมกับระบบและช่วยผู้ใช้ในการตัดสินใจว่าจะสืบค้นอะไร
Repository จัดเก็บและจัดการ digital objects และสารสนเทศอื่นๆ ห้องสมุดดิจิทัลขนาดใหญ่สามารถมีหลาย repositories และหลายประเภท
Handle system เป็นตัวระบุ digital objects ใน repository หรือฐานข้อมูล
Search system ระบบห้องสมุดอัตโนมัติออกแบบมาเพื่อให้สามารถมี indexes and catalogs จำนวนมากซึ่งสามารถพบได้ก่อนการสืบค้นจากrepository. แต่ละ indexes ได้รับการจัดการแยกจากกันและสนับสนุนหลายๆ protocols
สถาปัตยกรรมห้องสมุดดิจิทัล DL architecture สถาปัตยกรรมห้องสมุดดิจิทัล
Digital library architecture Notional Architecture Operational Architecture Technical Architecture System Architecture
Notional Architecture
Notional Architecture ห้องสมุดดิจิทัลเกี่ยวข้องกับ digital information and metadata Metadata เป็นข้อมูลเกี่ยวกับ digital object (Data about data) Metadata มีความสำคัญต่อการค้นคืนสารสนเทศ รายการ metadata ใช้ในการอ้างอิงถึงชุดของ digital objects. Metadata ป้อนข้อมูลในรูปแบบของเขตข้อมูล (fields)
Operational Architecture ให้ความสำคัญกับการไหลเวียนของสารสนเทศ (information flow) ในระบบ ห้องสมุดดิจิทัลเป็นการรวมระบบและทรัพยากรในที่ต่างๆ กันเป็นเครือข่ายและใช้การติดต่อผู้ใช้ (interface) เพียงอันเดียว จึงอาจดูเหมือนเป็นระบบเดียวแก่ผู้ใช้
Technical Architecture functional components Hardware (Servers, PCs(Clients),Modems, Storage devices, Book Scanner, CD/DVD Writers and digital camera, Video digitizer, UPS backup etc) Software (OCR, Linux/Solaris, MS Windows (Windows NT, Windows 95, Windows 98 etc), ORACLE, publishing Software, Search Engines etc.) Digital resources (CDs, E-journals, Scientific & Technical journals like, IEEE, ACM, ACS etc) การแปลงทรัพยากรเป็น digital format และได้รับการอนุญาต (licensing agreements) High Speed Internet
System Architecture ระบบของ digital library system DL เป็นระบบบริหารส่วนกลางที่ปฏิสัมพันธ์กับผู้ผลิตข้อมูลและผู้ใช้ที่หลากหลายภายในระบบที่ซับซ้อน
องค์ประกอบของ DL Architecture Repository Persistent (and unique) identifiers Data Metadata Digital Objects Access and Delivery
Modern Features in Digital Library Architectures
Social networking sites Social networking, bookmarking and tagging Reviews Recommendation features Citation and reference linking Bibliometric tools
Users interact with resources and create tags Tag 1 Tag2 Tag 3 Tag 1 24
Social Tagging Environment Photo sharing Slide sharing Videoblogging and sharing Social networks Academic bookmarking Bookmarking
26 26
27 27
28 28
29 29
30 30
Citation linking 31 31
Get it! Citation linker 32 32
33 33
จงอธิบายคำต่อไปนี้ URNs intellectual property Digital Library Interoperability Protocols Z39.50 OAI (Open Archives Initiative) Metadata MARC Dublin Core Persistent (and unique) identifiers Repository XML OSS (Open Source Software) Digital library software Greenstone Fedora D-space Eprint Social computing