การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“ศกร.กศน.ในต่างประเทศที่มีคุณภาพ ”
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
PMQA การพัฒนาองค์การตามแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อปรับปรุงคุณภาพการให้บริการและสร้างความ พึงพอใจแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม ๒. เพื่อให้หน่วยให้ความสำคัญกับการวัดความพึงพอใจ.
1. ลักษณะองค์กร 1ก. ลักษณะพื้นฐาน ของส่วนราชการ 1ก(1) พันธกิจ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
KM RID Team Work / Team Learning / AAR.
การทำงานเชิงรุก การทำงานเชิงรุก
สหกรณ์การเกษตรสามง่าม จำกัด
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมวด2 9 คำถาม.
หมวด7 15 คำถาม.
หมวด3 11 คำถาม.
PMQA การพัฒนาองค์การตามแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
HPC 11 กรอบแนวทางการดำเนินงาน นโยบายกรมอนามัย ศูนย์อนามัยที่ 11 ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มยุทธศาสตร์ 31 กค. 52.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
CS 6: การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ
การจัดทำแผนที่กลยุทธ์/ยุทธศาสตร์
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
บทบาทผู้นำองค์กร. ผลของการนำองค์กรที่ ผิดพลาด รอดมาได้
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
การวางแผนยุทธศาสตร์.
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การรายงาน ความก้าวหน้าของการดำเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ EdPEx สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ม.มหิดล วันพุธที่ ๒๙ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๗ ห้องประชุมประชาสังคมอุดมพัฒน์
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
การจัดการ (Management)
ก.พ.ร. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ 1
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
การทบทวนตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย แผนยุทธศาสตร์ ประจำปี 2555 สสจ
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ นรพัทธ์ ทรงเดชะ สนง.สสอ.สิงหนคร

สอ./ศูนย์สุขภาพชุมชน(PCU) สถานภาพของหน่วยบริการปฐมภูมิ (เขาต้องการให้เป็น..? หรือ เราต้องการเป็น..?) สอ./ศูนย์สุขภาพชุมชน(PCU) สถานีอนามัย(สอ.) สอ./PCU /รพ.สต./PCA สอ./PCU/รพ.สต.

ระบบเครือข่ายบริการปฐมภูมิที่ดี ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ หมวดP ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย หมวดที่2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ที่ดี หมวดที่5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล หมวดที่1. การนำองค์กรที่ดี หมวดที่7. ผลลัพธ์ การดำเนินงาน หมวดที่6. กระบวนการที่สร้าง คุณค่าให้กับ หน่วยบริการปฐมภูมิ ภายใต้ระบบ สนับสนุนที่ดี หมวดที่3. การให้ความสำคัญ กับประชากร เป้าหมาย ชุมชน และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวดที่4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 3

หมวด P ลักษณะสำคัญขององค์กร 1. รู้จักลักษณะสำคัญขององค์กรดังต่อไปนี้ 2. รู้จักความท้าทายที่สำคัญขององค์กร 1.1 ลักษณะพื้นที่ (พันธกิจ, สภาพโดยรวมของทีมสุขภาพ เทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน) 1.2 ความสัมพันธ์ภายในองค์กรและความสัมพันธ์ขององค์กรกับภาคีเครือข่ายสุขภาพ(ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) 2.1 วิเคราะห์เปรียบเทียบกับองค์กรที่คล้ายคลึงกัน เพื่อปรับปรุงและพัฒนา 2.2 กำหนดความท้าทายเชิงกลยุทธ์ 3 ประเด็น เพื่อให้บรรลุพันธกิจขององค์กร, เพื่อให้เกิดกระบวนการพัฒนาภายใน และ เพื่อให้เกิดการพัฒนาบุคลากรที่มีสมรรถนะที่เหมาะสมตามพันธกิจ 2.3 ระบบหรือแนวทางการปรับปรุงผลการดำเนินงาน โดยรู้จักแนวทางการประเมินผลการดำเนินงาน นำผลการประเมินมาปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน “สร้างกระบวนการเรียนรู้” เพื่อความต่อเนื่องของการพัฒนาและยกระดับ

ลักษณะสำคัญขององค์กร หมวด P ลักษณะสำคัญขององค์กร

การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 3 การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวดที่ 3 การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทำอย่างไรจึงทำให้เครือข่ายบริการปฐมภูมิ และ หน่วยบริการปฐมภูมิสามารถดำเนินงานได้ตอบสนองและสอดคล้องกับความต้องการของประชากรเป้าหมาย ชุมชน และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

เกณฑ์คุณภาพที่3.1 ความรู้เกี่ยวกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยเครือข่ายบริการปฐมภูมิควรมีการกำหนดดังนี้ เกณฑ์คุณภาพที่ 3.2 ความสัมพันธ์และความพึงพอใจ ของประชากรเป้าหมาย ชุมชน และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2.1มีการสร้างความสัมพันธ์กับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1.1มีการกำหนด จำแนกประชากรเป้าหมาย และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นกลุ่มต่างๆ 3.1.2มีการศึกษาความต้องการ ความคาดหวัง และ ความนิยมของประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2.1 มีการวัดความพึงพอใจ ของประชากรเป้าหมาย ชุมชน และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1.3มีการกำหนดบริการและแนวทางการดำเนินงานให้ตอบสนองและสอดคล้องกับความต้องการของประชากรเป้าหมาย ชุมชน และ ผู้มีส่วนได้เสีย

หมวด 6 ด้านระบบบริการ

หมวด 6 ด้านระบบบริการ เกณฑ์คุณภาพที่ 6.1 เกณฑ์คุณภาพที่ 6.2 กระบวนการสนับสนุนการให้บริการที่สร้างคุณค่าของระบบบริการปฐมภูมิ เกณฑ์คุณภาพที่ 6.1 เกณฑ์คุณภาพที่ 6.2 กระบวนการให้บริการที่สร้างคุณค่าของระบบบริการปฐมภูมิ

ตัวอย่าง รพ.สต.สว่างอารมณ์ ...แลกเปลี่ยน... ตัวอย่าง รพ.สต.สว่างอารมณ์

สวัสดี