การทำน้ำหมักสมุนไพรขับไล่แมลงในสวนผัก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
Advertisements

การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
ดำเนินการโดย สำนักงานเกษตรอำเภอวังม่วง อำเภอวังม่วง จังหวัด สระบุรี
นายจรัส ทะนะศรี นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร จัดกิจกรรมตามโครงการลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช ปี 2556 ณ ที่ทำการศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน ตำบลแก่งเค็ง.
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
ผักกาดดองจ๊า.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
สรุปใส่ปุ๋ย 100 กก.พืชกินปุ๋ยได้แค่ 30 กก.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
เรื่อง น้ำยาไล่แมลงวัน
โครงงานเทคโนโลยี เรื่อง กำจัดศัตรูผักคะน้าด้วยสมุนไพรธรรมชาติ
สรุปผลการสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย
น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น
ไม่เดียวดายไม่เดียวดาย. ไม่เดียวดายในที่นี้ หมายถึง หมายถึง มีคู่ หรือ ของสองอย่าง ไม่เดียวดายในที่นี้ หมายถึง หมายถึง มีคู่ หรือ ของสองอย่าง.
การปลูกพืชกลับหัว.
การไถพรวนและเตรียมแปลง ต้องทำการไถพรวนให้ พื้นที่ในแปลงโล่งแจ้ง ปลูกพืชสมุนไพรไล่แมลง ให้ปลูกก่อนที่จะปลูกพืช หลักคือพืชผักต่างๆ ( เสริมกับการป้องกัน.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองราชบุรี
การจัดการองค์ความรู้ (KM) การทำนาข้าวโดยไม่เผาตอซัง
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
************************************************
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
แตนเบียนไข่ไตรโครแกรมม่า Trichogramma spp.
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
การจัดการองค์ความรู้ เรื่องการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน สถานที่ดำเนินการ บ้านวังบง หมู่ที่ 10 ตำบลนาด้วง อำเภอนาด้วง.
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
การให้น้ำยางพาราปลูกใหม่ในช่วงฤดูแล้ง
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
การใช้นมสดเพิ่มคุณภาพพืชผัก
วัสดุอุปกรณ์ ๑. เปลือกไข่ไก่, ไข่เป็ด จำนวน ๑๕ - ๒๐ ฟอง
รายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดชัยนาท
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพในบ่อเลี้ยงปลาดุก
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
วิธีหมัก หมัก 3 วัน เติมออกซิเจน.
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
อุปกรณ์และขั้นตอนการทำขนมจีนสมุนไพร
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
โดย ด.ช.กฤษณรักษ์ ปิ่นตา ม.1/4 เลขที่ 16
การเพาะเลี้ยงแมลงห้ำ
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
การจัดการความรู้ (KM) ปี 2558 สำนักงานเกษตรอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทำน้ำหมักสมุนไพรขับไล่แมลงในสวนผัก

วัสดุ/อุปกรณ์ 1.ใบสะเดา จำนวนประมาณ 1 ส่วน 1.ใบสะเดา จำนวนประมาณ 1 ส่วน 2. ใบขี้เหล็ก จำนวนประมาณ 1 ส่วน 3. ตะไคร้หอม จำนวนประมาณ 1 ส่วน 4. เครือบอระเพ็ด จำนวนประมาณ 1 ส่วน 5. น้ำหมัก EM จำนวน 100-200 ซีซี 6. กากน้ำตาล จำนวน 1-2 ลิตร 7. น้ำ 8. ถังหมัก

วิธีทำ 1. นำวัสดุตามข้อ 1, 2, 3, 4 มาสับให้ละเอียด 1. นำวัสดุตามข้อ 1, 2, 3, 4 มาสับให้ละเอียด 2. นำวัสดุทั้งหมดลงหมักในถังหมัก เติมกากน้ำตาล, น้ำหมัก EM และเทน้ำเปล่าลงในถังให้ท่วมพ้นวัสดุหมักประมาณ 25 เซนติเมตร 3. ปิดฝาถังหมัก ปล่อยไว้ประมาณ 15-30 วัน นำไปใช้ได้

วิธีใช้ 1. ตักน้ำหมักสมุนไพรจากถังหรือใช้ผ้ากรองเอาน้ำหมักสุมนไพร นำไปฉีดพ่นในอัตรา 100 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร 2. ฉีดพ่นในเวลาเช้า (แดดอ่อน) และตอนเย็น (เกษตรกรใช้ฉีดในตอนเย็น จะได้ผลดีกว่า เพราะไม่กระทบต่อแสงแดด)

ผลการใช้ของเกษตรกร เกษตรกรเจ้าขององค์ความรู้ ใช้ฉีดในแปลงปลูกพืชผัก เช่น ผักบุ้งจีน, ผักกาดหอม, ผักกวางตุ้ง, ถั่วฝักยาว พบว่าสามารถป้องกันการระบาดทำลายของแมลงศัตรูพืชได้ผลดี

เจ้าขององค์ความรู้ นายเหรียญ อินทร์เรืองศรี นายเหรียญ อินทร์เรืองศรี ที่อยู่เลขที่ 121 หมู่ที่ 3 ตำบลห้วยเกิ้ง อำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี

จบแล้วครับ...