การเตรียมการของคณะครุศาสตร์ สู่การเป็นประชาคมอาเซียน
ASEAN สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ASEAN = Association of South East Asian Nations สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ประเทศที่อยู่ในเครือ ASEAN
วิสัยทัศน์ประชาคมอาเซียน ASEAN Community Vision One Vision, One Identity, One Community
บทบาทหน้าที่ของประชาคม ASEAN 2510 ประชาคมความมั่นคง 2540 ประชาคมเศรษฐกิจ 2553 ประชาคมสังคม และวัฒนธรรม
ประชาคมอาเซียน ASEAN Community เป้าหมายสำคัญ - การทำให้ประเทศสมาชิกเป็น “ครอบครัว เดียวกัน (ความเป็นอยู่ที่ดี มีความปลอดภัย ค้าขายสะดวก) - เพิ่มอำนาจการต่อรอง และขีดความสามารถ ในการแข่งขัน - สามารถรับมือกับปัญหาระดับโลกที่ส่งผล กระทบต่อ ASEAN
ประชาคมอาเซียน ASEAN Community ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political Security Community) กติกา ค่านิยมร่วมกัน , สันติสุข , สันติวิธี , มั่นคงรอบด้าน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN Economic Community) มั่นคง มั่งคั่ง แข่งขันได้ - Asian Free Trade Area (เขตการค้าเสรีอาเซียน) - ตลาดเดียว - ขยายการค้าและการลงทุนในเขตภูมิภาค
ประชาคมอาเซียน ASEAN Community ประชาคมสังคม – วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community) สังคมเอื้ออาทร - ยกระดับคุณภาพประชากร * ผู้ด้อยโอกาส ผู้อาศัยในถิ่นทุรกันดาร * สาธารณสุข การป้องกันควบคุมโรคติดต่อ * การจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม - การส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ (ความเข้าใจระหว่าง ประชาชน)
ประชาคมอาเซียน ASEAN Community สะท้อน การพึงพาอาศัยกัน + ความร่วมมือกัน การแข่งขันควบคู่ความร่วมมือ
ปฏิญญาอาเซียนด้านการศึกษา การเผยแพร่ความรู้ ข่าวสารเกี่ยวกับ อาเซียน การเตรียม นักเรียน นักศึกษา ประชาชน ให้มีทักษะที่เหมาะสมเพื่อเตรียมความพร้อม * ภาษาอังกฤษ * ภาษาของประเทศเพื่อนบ้านที่จำเป็น * เทคโนโลยีสารสนเทศ * การเพิ่มโอกาสการหางานของประชาชน * การปรับตัวกับมาตรฐานการทำงานที่เป็นสากล
สมรรถนะของครูประเทศอาเซียน ศตวรรษที่ 21 : (SEMAO/INNOTECH กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์) การเตรียมแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจของโรงเรียน การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ การใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ด้านการเรียนการสอน การพัฒนาทักษะการคิดระดับสูง การอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้
สมรรถนะของครูประเทศอาเซียน ศตวรรษที่ 21 : (SEMAO/INNOTECH กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์) ความมีคุณธรรมจริยธรรม ส่งเสริมการพัฒนาชีวิตและทักษะอาชีพของผู้เรียน การวัดและประเมินผลพฤติกรรมผู้เรียน การพัฒนาวิชาชีพของตนเอง การสร้างเครือข่ายกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การดูแลสวัดดิการของนักเรียน
ความพร้อมที่ต้องเตรียมให้กับคนไทย โอกาสทองของคนประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศสิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ เวียดนาม อินโดนีเซีย มีพื้นฐานทางภาษาที่ 2 และภาษาที่ 3 มากกว่าไทย คนชาติเพื่อนบ้านพูดภาษาไทยได้ แต่คนไทยมีจำนวนน้อย พูดภาษาเพื่อนบ้านได้ ความสามารถในการแข่งขันในตลาดแรงงาน ความสนใจประเทศเพื่อนบ้านย่านอาเซียน ของนิสิตนักศึกษาไทย
นักศึกษาควรเตรียมตัวอย่างไร Change = Adapt นักศึกษาควรเตรียมตัวอย่างไร
เมื่อไทยก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน วิธีคิดด้านการเรียนรู้ของนักศึกษา ย่อมเปลี่ยนไป
นักศึกษายุคใหม่ ต้องใช้ความรู้ที่หลากหลายและประสบการณ์รอบด้านมากกว่าอดีต สมรรถนะในตัวนักศึกษา คือ ความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาให้เกิดขึ้นในตัวนักศึกษา
ประเด็นท้าทายนักศึกษา 1. จะพัฒนาตนเองอย่างไร ให้มีความรู้ ทักษะ ความคิด การสื่อสาร เพื่อให้นักศึกษาสามารถ อยู่ได้ในสภาวะการดำรงชีวิตและการทำงาน ภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม 2. จะพัฒนาตนเองให้พร้อมที่จะรับบทบาท ผู้นำในสังคมโลกาภิวัตน์ ได้อย่างไร 3. “การตระหนักรู้ และการสร้างโอกาสให้ตนเอง” จะเป็นประเด็นสำคัญในอนาคต
การเตรียมการของนักศึกษา (พลเมืองไทย + พลเมืองอาเซียน + พลเมืองโลก) ตระหนักว่า สังคมไทยในอนาคต เปลี่ยนแปลง ไปจากอดีต (สังคมพหุวัฒนธรรม) ได้เวลาต้องเตรียมตนเอง ไม่ใช่ถึงเวลา ค่อยมาเตรียมการ บัณฑิตรุ่นใหม่ เน้น สมรรถนะที่หลากหลาย มากกว่ามีความรู้ การเปิดเสรีด้านแรงงาน คือ คู่แข่งที่เพิ่ม มากขึ้นกว่าเดิมในอดีตในด้านการมีงานทำ
การเตรียมการของนักศึกษา (พลเมืองไทย + พลเมืองอาเซียน + พลเมืองโลก) ปรับแนวคิดการเรียนรู้ใหม่ - เรียนเพื่อให้ได้รับปริญญา พัฒนาสู่ เรียนเพื่อสะสมความรู้และประสบการณ์ สร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก ในสถานการณ์ “ประชาคมอาเซียน” (Asian View + Global View) พัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษ
การเตรียมการของนักศึกษา (พลเมืองไทย + พลเมืองอาเซียน + พลเมืองโลก) สร้างโอกาสการเรียนรู้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ที่มากกว่าภาษาไทย – อังกฤษ พัฒนาทักษะ ไอ ที สร้างมูลค่าเพิ่มให้ตนเองด้านศักยภาพ (Highly Qualified Talents) National Spirit บัณฑิตไทย การเรียนรู้กติกาสากลในการทำงาน
การเตรียมการของนักศึกษา (พลเมืองไทย + พลเมืองอาเซียน + พลเมืองโลก) เรียนรู้เพื่อความเข้าใจในวัฒนธรรมประเทศเพื่อนบ้าน พัฒนาสมรรถนะการอยู่ร่วมกันภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม - การปฏิบัติต่อกัน ด้วยความเคารพกัน เรียนรู้มาตรฐานวิชาชีพร่วมของอาเซียน (บัญชี วิศวกรรมศาสตร์ ทันตแพทย์ แพทยศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ พยาบาล วิชาชีพเหล่านี้สามารถเดินทางไปประกอบอาชีพในประเทศต่าง ๆ ของ อาเซียน อย่างเสรี)
กลไกการพัฒนานักศึกษา หลักสูตรและการเรียนการสอนในชั้นเรียน กิจกรรมเสริมหลักสูตร อาจารย์ อาจารย์ที่ปรึกษา หน่วยสนับสนุนทางวิชาการและกิจการนักศึกษา สภาพแวดล้อม
การเตรียมการของคณะ จัดทำแผนพัฒนาความพร้อมสู่ ASEAN จัดทำการอบรมภาษาอังกฤษให้กับอาจารย์ การเตรียมกิจกรรมของอาจารย์+นักศึกษา ร่วมกับมหาวิทยาลัยใน ASEAN การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม การศึกษาดูงาน การทำกิจกรรมทางวิชาการร่วมกับมหาวิทยาลัยในASEAN การเปิดหลักสูตรระยะสั้นให้กับนศ. ASEAN
สวัสดี