โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

Innovative Solution Integration Co, Ltd
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
การบริหารจัดการภาครัฐ ( PMQA: Public Sector Management Quality Award )
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
คำอธิบาย ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
1. ลักษณะองค์กร 1ก. ลักษณะพื้นฐาน ของส่วนราชการ 1ก(1) พันธกิจ
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
เกณฑ์ (gain!?!)หมวด 7.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
หมวด2 9 คำถาม.
หมวด7 15 คำถาม.
1 ก.พ.2550 ห้องประชุมดาวเรือง
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
สภาพผลการดำเนินงานองค์กร
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด4 10คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
2 มิถุนายน อ. ศมณพร สุทธิบาก ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
ลักษณะสำคัญขององค์กร
การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
ระบบการประเมินองค์กร ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพ เครือข่ายบริการปฐมภูมิ
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
คู่มือการพัฒนาคุณภาพ HA SPA SAR 2011 HA Scoring Guideline 2011
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
การจัดทำดัชนีชี้วัดและ การกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
การพัฒนา องค์การ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตามคำรับรอง การปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.
การพัฒนาระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน และการประเมินผล
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ

แนวทางการประเมิน แบ่งการประเมินเป็น 2 มิติ กระบวนการ ผลลัพธ์

หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ 7.1 มิติ ด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ 7.2 มิติ ด้านคุณภาพ การให้บริการ 7.3 มิติ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.4 มิติ ด้านการพัฒนา องค์กร ผลการบรรลุความสำเร็จของยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติงาน ผลด้านการบูรณาการกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกันในการให้บริการ หรือการปฏิบัติงาน ผลด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ ผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า ผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน ผลด้านระบบบริหารงานบุคคล ผลด้านการเรียนรู้และพัฒนาของบุคลากร ผลด้านความผาสุก ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของบุคลากร ผลด้านการสร้างนวัตกรรมและการนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ ผลการเปิดเผยรายงานผลการใช้งบประมาณรายรับ-รายจ่ายประจำปี รายการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างโดยให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตรวจสอบได้ ผลด้านการปฏิบัติตามข้อบังคับและกฎหมาย ผลด้านการดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม การสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการบริหารงาน ผลด้านการเป็นองค์กรที่ดี (Organizational Citizenship) ในการสนับสนุน ชุมชนที่สำคัญ ผลการบรรลุความสำเร็จของยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติงาน ผลด้านการบูรณาการกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกันในการให้บริการ หรือการปฏิบัติงาน (*)

แนวทางการเขียนรายงาน ผลลัพธ์ เน้นที่ผลลัพธ์ที่สำคัญ ลักษณะสำคัญองค์กร หมวด 1-6

แนวทางการเขียนรายงาน ผลลัพธ์ 2. ต้องนำเสนอ ระดับของผลการดำเนินการ(Level) แนวโน้มเพื่อแสดงทิศทางของผลลัพธ์และอัตราการ เปลี่ยนแปลง(Trend) เปรียบเทียบผลลัพธ์กับองค์กรอื่นที่เหมาะสม(Comparison) แสดงผลลัพธ์ที่สำคัญให้ครบถ้วน(Key Results) L T C K

แนวทางการเขียนรายงาน ผลลัพธ์ 3. แสดงแนวโน้มผลลัพธ์ตามระยะเวลาจริงที่เก็บข้อมูล ไม่มีการกำหนดระยะเวลาน้อยที่สุดของข้อมูล ควรแสดงข้อมูลล่าสุดถึงแม้จะไม่เห็นแนวโน้มหรือข้อมูลเปรียบเทียบที่ชัดเจน

แนวทางการเขียนรายงาน ผลลัพธ์ นำเสนอให้กระชับ เข้าใจง่าย ใช้กราฟ/ตาราง ระบุเรื่องกราฟ/ตาราง ให้ชัดเจน ปรับข้อมูลให้เป็นฐานเดียวกันเพื่อเปรียบเทียบกับองค์กรอื่น

แนวทางการเขียนรายงาน ผลลัพธ์ 5. เชื่อมโยงผลลัพธ์และ คำอธิบายผลลัพธ์ ควรนำเสนอผลลัพธ์คู่กับคำอธิบายผลลัพธ์ เพื่ออธิบายแนวโน้มที่มีการเปลี่ยนแปลง ที่มีนัยสำคัญไม่ว่าด้านบวกหรือลบ ใช้ตัวเลขกำกับให้สอดคล้องกับหัวข้อ เช่น 7.1-3

แนวทางการเขียนรายงาน ผลลัพธ์ = Good % On-Time Delivery Period On-Time Delivery Performance ตัวอย่างกราฟ ตัวอย่างการอธิบาย “การปรับตัวของดัชนีการส่งมอบตรงเวลาของบริษัทมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในไตรมาสที่ 3 เนื่องจากมีการปรับปรุงของเสียในสายการผลิต แต่ในไตรมาสที่ 4 ทางบริษัทประสบขาดแคลนวัตถุดิบ ซึ่งต้องนำเข้าจากต่างประเทศ ทำให้ไม่สามารถส่งมอบได้ทันตามกำหนด”

แนวทางการเขียนรายงาน ผลลัพธ์ แสดงผลลัพธ์ที่สำคัญให้ครบถ้วน (ตามที่ระบุไว้ในหัวข้อต่าง ๆ) แสดงผลลัพธ์แต่ละกลุ่มให้ชัดเจน ไม่ควรแสดงค่าเฉลี่ยของกลุ่มเพียงอย่างเดียว ควรแสดงผลลัพธ์ของแต่ละกลุ่มด้วย

แนวทางการเขียนรายงาน ผลลัพธ์ A B C Mean Performance 20 1997 1998 1999 2000

แนวทางการเขียนรายงาน ผลลัพธ์ ข้อสังเกต และหมายเหตุ (ในเกณฑ์) เป็นเพียงข้อแนะนำไม่ใช่ข้อกำหนด ต้องมีการเปรียบเทียบผลลัพธ์เพื่อแสดงว่าผลลัพธ์ของเรา ดีในระดับใด

ตัวอย่างการเขียนรายงาน ผลลัพธ์ A B C Financial Performance 20 1997 1998 1999 2000 15 10 5 Billion Baht = Good Year Your Organization

ข้อพึงระวังในการใช้ภาพแสดงผลลัพธ์ ตัวเลขกำกับภาพในหัวข้อต่างๆ ควรเป็นตัวเลขเดียวกับ หัวข้อนั้น ๆ เมื่ออ้างอิงถึงภาพใดต้องระบุ ตัวเลขกำกับภาพนั้นทุกครั้ง กำหนดแกนทั้ง 2 แกน และหน่วยวัดของกราฟให้ชัดเจน

ข้อพึงระวังในการใช้ภาพแสดงผลลัพธ์ อธิบายความหมายและข้อสรุปของภาพอย่างกระชับและชัดเจน “รูปที่ 7.1 แสดงผลลัพธ์ด้านคุณภาพโดยรวมของบริการ เมื่อเทียบกับคู่แข่ง, จะเห็นว่าผลลัพธ์ของดัชนีชี้วัดทั้ง 6 ตัว ดีกว่าผลลัพธ์ของคู่แข่ง”

ข้อพึงระวังในการใช้ภาพแสดงผลลัพธ์ 10. ควรใช้ประเภทของกราฟที่มีความเหมาะสมกับข้อมูล กราฟแท่ง เพื่อแสดงการเปรียบเทียบ กราฟเส้น เพื่อแสดงแนวโน้ม % Accuracy MONTHS % On-Time Delivery Period

ข้อพึงระวังในการใช้ภาพแสดงผลลัพธ์ อธิบายทุกๆส่วนของภาพให้ชัดเจน เช่น แกน สเกล เวลา เป้าหมาย GOAL GOAL AND FEEDBACK Report Quality Scores Weeks BASELINE GUIDELINES good

ข้อพึงระวังในการใช้ภาพแสดงผลลัพธ์ อย่าใส่ข้อมูลมากเกินไปในภาพรูปเดียว เช่น คำอธิบาย, เส้นกราฟ, มาตรที่ดูยาก, ตัวย่อ

ตัวอย่างกราฟข้อมูลมากเกินไปในภาพรูปเดียว G = e-34589 q = 0.29384 Data analysis SD. = 0.34598 Corr. = 0.23333 Actual Control cond. Target line

ตัวอย่างกราฟข้อมูลมากเกินไปในภาพรูปเดียว

ถาม-ตอบ