รวบรวม /ปรับปรุง/เสริมแต่ง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
Best Practice.
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
นวัตกรรม Innovation สุทธินันท์ สระทองหน.
7 ขั้นตอนในการจัดการความรู้ ของ กพร.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
Knowledge Management (KM)
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
Communities of Practice (CoP)
Benchmarking.
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
แนวทางการดำเนินงาน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในโรงเรียนเอกชน
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
Good Practice (for Quality Improvement)
Good Practice (for Quality Improvement)
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
กระบวนการที่สร้างคุณค่า และ กระบวนการสนับสนุน
 โครงการเป็นเครื่องมือในการบริหารงานและ พัฒนาองค์กร และเป็นการแปลงแผนแม่บทไปสู่ การปฏิบัติ
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
ระบบการ ดำเนินการใน โรงเรียน 1. ระบบบริหารจัดการ 2. ระบบการเรียนการสอน 3. ระบบการวัดผลประเมินผล 4. ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 5. ระบบงานกิจกรรมนักเรียน.
หลักการเขียนโครงการ.
การเขียนโครงการ.
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เก็บตกคำถามจาก สมศ..
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รวบรวม /ปรับปรุง/เสริมแต่ง การพัฒนาครู ทั้งระบบ Best Practices ภิรมย์ นันทวงค์ รวบรวม /ปรับปรุง/เสริมแต่ง

Best Practices of Master Teacher ทำ KM เพื่อนำ Best Practices มา Benchmarking Best Practices of Master Teacher

Best-practices Best = ดีเยี่ยม ดีเลิศ ดีที่สุด Practices = Process กระบวนการ มีความเชื่อมโยงและนำไปสู่ผลลัพธ์ Best = ดีเยี่ยม ดีเลิศ ดีที่สุด ผลลัพธ์ที่เหนือกว่ากระบวนการเดียวกันของคนอื่น เหนือกว่าหน่วยงานอื่น มีตัวชี้วัดที่สัมพันธ์กับกระบวนการ 3

Best Practices คืออะไร? นวัตกรรมการทำงานดีๆ ขององค์กร ที่คนในองค์กรสามารถอธิบายได้ว่า ดีแค่ไหน ? ดีอย่างไร ? ดีเพราะอะไร ?

Best Practices คืออะไร ? วิธีการทำงานใหม่ที่องค์กรเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงในการพัฒนาคุณภาพองค์กร ซึ่งนำไปสู่การบรรลุผล องค์กรก้าวสู่ความเป็นเลิศ

Best Practices คืออะไร?

Best Practices คืออะไร ?

Best Practices คืออะไร ? หมายถึง แนวทาง หรือ วิธีการปฏิบัติ ในเรื่องต่างๆ ที่นำองค์กรไปสู่ความสำเร็จและบรรลุจุดมุ่งหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

Best Practices เป็นบทสรุปของวิธีการปฏิบัติที่เป็น Tacit Knowledge (ความรู้ที่ฝังลึกในตัวคน) ซึ่งเผยแพร่เป็น Explicit Knowledge (ความรู้ที่ปรากฏให้เห็นชัดแจ้ง) เพื่อให้ผู้อื่นได้นำไปทดลองปฏิบัติ

Best Practices ( BP)  เป็นวิธีการทำงานหรือวิธีปฏิบัติงานที่ส่งผลต่อ ผลงานที่มีคุณภาพ หรือส่งผลต่องานที่ประสบผลสำเร็จ

วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ เป็น กระบวนการ ไม่ใช่กิจกรรม/ไม่ใช่โครงการ ประกอบด้วยส่วนต่างๆหรือเรื่องที่รวมอยู่ในการปฏิบัติที่เป็นเลิศ สนับสนุนต่อกระบวนการขององค์กรและการดำเนินงานที่ระบุไว้ในเบื้องต้น ต้องสนับสนุนด้วยผลลัพธ์ที่เหนือกว่า 11 11

Writing Best Practices KM, Benchmarking, BP BP KM Bencmarking Writing Best Practices 12

Best Practices เป็น กระบวนการ สำคัญที่จะนำไปสู่การทำ Benchmarking เป็นกระบวนการทำงานที่มีอยู่ในระบบงานปกติอยู่แล้ว ไม่ใช่โครงการที่คิดขึ้นมาใหม่ ไม่ใช่สื่อ/สิ่งประดิษฐ์ใดๆ

Benchmarking เป็นกระบวนการวัดและการเปรียบเทียบ ผลิตภัณฑ์ บริการ และวิธีปฏิบัติ ขององค์กรใดๆ กับองค์กรอื่นที่สามารถทำได้ดีกว่า เพื่อนำผลของการเปรียบเทียบมาใช้ในการปรับปรุงองค์กร

Benchmarking ประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก ๆ ได้แก่ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices)

Benchmarking เป็นวิธีการปรับปรุงกระบวนการทำงาน และการให้บริการที่มีอยู่ โดยนำสิ่งที่เรากำลังทำอยู่ในขณะนี้ไปเปรียบเทียบกับสิ่งที่ดีที่สุด ไม่ว่าจะเป็นงานของเราหรือของผู้อื่น และนำวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) หรือแบบอย่างจากสิ่งที่ดีที่สุดนั้น มาปรับประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับองค์การ โดยแก้ไขปรับปรุงกระบวนการทำงาน ปรับปรุงการบริการของเราให้ดีขึ้น

Benchmarking หมายถึง กระบวนการวัดและเปรียบเทียบกับองค์กรที่สามารถทำได้ดีกว่า และนำผลการเปรียบเทียบมาใช้ในการปรับปรุงองค์กรของตนเพื่อช่วยพัฒนาศักยภาพขององค์การอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง

การบริหารจัดการ Best Practices ของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านบุคลากร ด้านวิชาการ ด้านบุคลากร ด้านการเงินและงบประมาณ ด้านบริหารทั่วไป ทำให้ผู้รับบริการ สถานศึกษา ได้รับบริการ ตามที่คาดหวัง ประสบความสำเร็จอย่างดี เยี่ยม เป็นที่พึงพอใจของทุกฝ่าย

Best Practices ของครูผู้สอน การเรียนการสอน - การจัดการเรียนรู้ - การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร - การดูแลช่วยเหลือนักเรียน ที่ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้จริงบรรลุ ผลลัพธ์ที่ตอบสนองความคาดหวังของ ผู้รับบริการ ผู้ปกครอง หรือชุมชน อย่างดี เยี่ยม เป็นที่พึงพอใจของทุกฝ่าย

แนวการพิจารณา ทำอย่างไร (How) และทำไมจึงทำ (Why) หรือตัวชี้วัดที่กำหนด แนวการพิจารณา         เน้น วิธีปฏิบัติ ที่สร้างความพึงพอใจให้แก่ทุกคนในองค์กร         เป็นวิธีปฏิบัติที่ครบวงจรของระบบคุณภาพ PDCA         องค์กร บุคคลนั้น สามารถบอกได้ว่า ทำอะไร (What) ทำอย่างไร (How) และทำไมจึงทำ (Why)         ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเป็นไปตามข้อกำหนด เป้าหมาย หรือตัวชี้วัดที่กำหนด         วิธีปฏิบัตินั้น สามารถบอกได้ว่าเกิดจากปัจจัยใดเป็นวิธีปฏิบัติ ที่ต่อเนื่องและยั่งยืน         วิธีปฏิบัตินั้นใช้กระบวนการการจัดการความรู้ (Knowledge Management) เช่น การเล่าเรื่อง (Story Telling) แล้วถอดองค์ความรู้จากการทำงาน

นวัตกรรม ปัจจัย กระบวน การ จ่ายค่า รักษาฯ รวดเร็ว BP ผลผลิต/ ผลลัพธ์ ปัญหา/ ความต้องการ ปัจจัย กระบวน การ ผลผลิต/ ผลลัพธ์ จ่ายค่า รักษาฯ รวดเร็ว 1.เงินสด 500,000 2.จนท.3คน 1.หาเงินนอก 2.เปิดบัญชี กองทุน 3.บริการแบบ ฮิตาชิ 24 ชม. 4.เบิกเงิน ชดเชย - ผู้ป่วย ได้รับเงิน รวดเร็ว กำลังใจดี หายป่วย

การเขียน How to ไม่ใช่เขียนขั้นตอนการทำงาน 1.วางแผน 2.ดำเนินการ 3.นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล 4.ประเมินผลและรายงาน เพราะถ้าเขียนอย่างนี้จะไม่รู้ว่ามีวิธีการทำอย่างไร ใครต่อใครเอาไป Benchmarking ไม่ได้

การเขียน Best Practices ควรแสดงผังการเลื่อนไหลของงาน(Flowchart)ให้เห็นด้วย Connector Symbol Process Symbol Input/Output Symbol Decision Symbol Terminal Symbol Document Symbol

EX How to “การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O - Net” 1.จัดกลุ่มนักเรียนตามศักยภาพ 2.จัดทีมครูพี่เลี้ยง/จัดเครือข่ายผู้ปกครอง 3.สร้างความเข้าใจผู้ปกครอง 4.เสริมนอกเวลา/วันหยุด โรงเรียนและบ้าน 5.สร้าง/จัดสื่อทดสอบหลากหลาย 6.สอบซ้อมเด็กมีผู้ปกครองเชียร์ 7.เก็บตัวเข้าค่าย 8.ฉลองความสำเร็จร่วมกัน

นวัตกรรม ประเภทรูปแบบ ประเภทวิธีการ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ใหม่สด เก่าที่อื่นมาใหม่กับเรา ปรับปรุงใหม่

การคิดนอกกรอบ คำนาม 1 คำนาม 2 ความคิดใหม่ สบู่ กล้วยหอม = + สบู่กลิ่นกล้วยหอม = สบู่ กล้วยหอม + สบู่รูปร่างกล้วยหอม = = สบู่สีกล้วยหอม

โปรดอย่าถาม

สวัสดี.